DSpace Repository

เหตุผลของการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author สฎายุ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.author ผลาดร สุวรรณโพธิ์
dc.contributor.author นราศักดิ์ กล่ำสี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3341
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเหตุผลของการตัดสินใจเข้าสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อนำมาหาแนวทางในการเสริมแรงให้นิสิตตัดสินใจเข้ามาเป็นสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา การเก็บข้อมูลใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 33 คน และเลือกสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในกลุ่มแรก จำนวน 13 คน เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) และการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) กับผู้ที่มีประสบการณ์ด้านงานกิจกรรมนิสิต ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป และเคยเป็นนักกิจกรรมตอนสมัยเป็นนักเรียน/ นิสิต มาก่อน จำนวน 9 คน กรอบแนวคิดในการวิจัยคือ ทฤษฎีที่เป็นเหตุผลในการตัดสินใจ เหตุผลการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ทฤษฎีการเสริมแรง และแนวทางในการเสริมแรงในนิสิตตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผลการวิจัย พบว่า 1.ปัจจัยที่เป็นเหตุผลในการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีจำนวน 6 ปัจจัย เรียงตามลำดับความสำคัญของข้อค้นพบ ได้แก่ ปัจจัยจากความชอบส่วนตัว ปัจจัยจากบุคคลอ้างอิง ปัจจัยด้านผลประโยชน์จากการทำกิจกรรม ปัจจัยอื่นๆ ปัจจัยด้านจิตอาสาและปัจจัยด้านแรงเสริมจากคณะศึกษาศาสตร์ ตามลำดับ 2.แนวทางการเสริมแรงให้นิสิตในการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกสโมสรนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สรุปได้เป็น 3 แนวาทาง ดังนี้ 1) แนวการเสริมแรงเพื่อสรรหานิสิตเข้ามาเป็นนักกิจกรรม มีวิธีการสำคัญ ได้แก่ การให้โควตานักดรียนกิจกรรมเด่น และการประชาสัมพันธ์เชิงรุก 2) แนวทางเสริมแรงแก่ระหว่างเป็นนักกิจกรรม มีวิธีการ ได้แก่ การสร้างกิจกรรม การสร้างความตระหนักให้เกิดความภาคภูมิใจ และการปรับโครงสร้างองค์กรสโมสรนิสิต 3) แนวทางการเสริมแรงหลังทำกิจกรรมแก่นิสิตที่เสร็จสิ้นกิจกรรมไปแล้ว มีวิธีการสำคัญ ได้แก่ การมอบรางวัล และการสร้างกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์แก่ศิษย์เก่านักกิจกรรม th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การตัดสินใจ th_TH
dc.subject กิจกรรมของนักศึกษา - - การตัดสินใจ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา
dc.title เหตุผลของการตัดสินใจเข้าเป็นสมาชิกสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 11
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The purpose of this research study was to focus on the reasons on the reasons for the decision making to be a number at the students club at the faculty of Education, Burapha University and the ways to promote the students to make the decision to be a number there. Data collection in this research was an in depth interview with 13 participants who was chosen from a population of 33. The participants were purposefully selected and using a focus group discussion with nine experts who had experience with the experience with the students club of more than five years and who were activists when they were studied in the university. The framework of this research study was the theory behind the reasons to decide to be a member of the students club of the faculty of Education, Burapha University and the theoy behind what motivated the students to make a decision to be a member at students club of faculty of Education, Burapha University. Research findings were: 1. There were six factors which were the the reasons for making the decision to be a member of the students club of faculty of Education, Burapha University : references, fondness, benefit from joining the activity, vountariness, faculty promoting and other factors. 2. There are three main reasons why the students made the decision to be a member of the students the students club at the faculty of Education, Burapha University: 1) appealing to the students to find participants by public relations and filling the application form, 2) encouraging the students while they joined by creating the activities to build awareness and structure within the organization, and 3) appealing to the students by giving a reward to those who are successful. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 247-257


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account