DSpace Repository

คุณภาพชีวิตของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย

Show simple item record

dc.contributor.author นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร
dc.contributor.author เชิดชัย ชาญสมุทร
dc.contributor.author จิรกรณ์ ศิริประเสริฐ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:43Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:43Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/32
dc.description.abstract คุณภาพชีวิตของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยไทยในประเด็นที่ครอบคลุมในส่วนของคุณภาพของประสบการณ์ในระหว่างศึกษาในมหาวิทยาลัย สิ่งแวดล้อมที่เกื้อหนุนเป้าหมายดังกล่าว รวมทั้งสิ่งที่นิสิตนักศึกษาคาดหวังที่จะได้รับจากสถาบันการศึกษาของตนเองด้วย คือ เป้าหมายหลักของการวิจัยครั้งนี้ และเป็นการศึกษาที่ต่อเนื่องและขยายผลจากการศึกษาในสถาบันเดียวมาก่อนด้วย (นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร และจิรกรณ์ ศิริประเสริฐ, 2544) โดยทำการสำรวจนิสิตนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ภายใต้การกำกับของทบวงมหาวิทยาลัยจำนวน 19 สถาบัน ทั้งของรัฐและเอกชน ที่อยู่ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยใช้แบบสอบถามประสบการณ์ชีวิตของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (College Student Experience Questionnaire: CSEQ) ของเพส (Pace, 1990) ที่ได้แปลและปรับปรุงให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยไทยมากขึ้นกว่าการวิจัยครั้งแรก และทำการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามได้ค่าเท่ากับ .97 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่และร้อยละ พบว่าคุณภาพชีวิตของนิสิตนักศึกษาของมหาวิทยาลัยไทย มีประสบการณ์ที่เกี่ยวกับคุณภาพของงาน สภาพแวดล้อม ละความคาดหวังอยู่ในระดับปานกลาง แสดงให้เห็นว่าคุณภาพชีวิตของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยไทยทั้งในแง่ของประสบการณ์เกี่ยวกับงาน (กิจกรรม) สภาพแวดล้อมและความคาดหวังที่จะได้รับจากมหาวิทยาลัยมีช่องว่างสำหรับการพัฒนาไปสู่เป้าหมายของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้อีกมาก อย่างไรก็ตามแบบสอบถามที่เก็บเพื่อการศึกษาครั้งนี้หลายฉบับไม่สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์ได้ อันน่าจะมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากความยาวของแบบสอบถาม อย่างไรก็ตามถ้าผู้ตอบแบบสอบถามตระหนักและมีความอดทนในการตอบอย่างจริงจัง ก็จะเกิดการเรียนรู้และมองเห็นคุณภาพชีวิตการเป็นนิสิตนักศึกษาที่ตนเองเป็นและน่าจะเป็นอย่างดีการหาเครือข่ายและกลุ่มนักวิจัยตามสถาบันการศึกษาให้มากขึ้น เก็บข้อมูลที่จริงจังและได้จำนวนมาก เป็นเวลาหลายปี ก็น่าจะช่วยให้เกิดเป็นเกณฑ์มาตรฐานที่จะช่วยนำไปพัฒนาสถาบันการศึกษาของตนเองได้มากขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะศึกษาศาสตร์ en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject กิจกรรมของนักศึกษา - - ไทย th_TH
dc.subject คุณภาพชีวิต th_TH
dc.subject นักศึกษา - - ไทย - - การดำเนินชีวิต th_TH
dc.subject สถาบันอุดมศึกษา - - ไทย th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title คุณภาพชีวิตของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2545
dc.description.abstractalternative This follow-up of previous srudy (Vongjaturapat & Siriprasert, 2001) was aimed to clarified university quality of life on campus through student activities and on campus environment in a larger scale. In face, one thousand seven hundred and eighty seven undergraduate students from both public and private institutes in Thailand completed the College Survey Experience Questionnaire (CSEQ), developed by Pace (1990). The questionnaire was developed and tested for its reliability to use with Thai students and reported as .97. The CSEQ includes three areas: quality of effort (levels of effort and involvement), university environment and estimate of gains The Mean and percentile were used for study analysis and revealed that student quality of life through their activities and experiences on campus were generally medium. Students in the public and private institutes are not much different in term of their frequency of experience on institute activities and environment: Suggestions and discussions on how to improve the quality of life on campus are given. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account