DSpace Repository

การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการรายวิชาวิทยาศาสตร์และภาษาไทย เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเขาทอง จังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.author นพมณี เชื้อวัชรินทร์
dc.contributor.author วันทนี น้อยถนอม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:21:24Z
dc.date.available 2019-03-25T09:21:24Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3206
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรบูรณาการรายวิชาวิทยาศาสตร์และภาษาไทย เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเขาทอง จังหวัดจันทบุรี 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการ สูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนหลังเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการสูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 4) ศึกษาเจตคติต่อการเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการ โดยมีขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ 4 ขั้นตอน 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2) การสร้างหลักสูตร 3) การทดลองใช้หลักสูตร 4) การประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร กลุ่มประชากรในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย หลักสูตรบูรณาการ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย แบบวัดเจตคติต่อการเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างเดียว (t-test for one sample) ผลการวิจัยพบว่าได้หลักสูตรบูรณาการที่มีความเหมาะสมระดับมาก (X̅= 4.29, SD = 0.47) และมีค่าความสอดคล้อง (0.95)หลักสูตรมีส่วนประกอบครบถ้วน มีความสอดคล้องกับความต้องการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนหลังเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 และเจตคติต่อการเรียนด้วยหลักสูตรบูรณาการรายวิชาวิทยาศาสตร์และภาษาไทย เรื่องการดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเขาทอง จังหวัดชลบุรี อยู่ในเกณฑ์ ที่ดีมาก th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ภาษาไทย - - หลักสูตร th_TH
dc.subject วิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) th_TH
dc.subject วิทยาศาสตร์ - - หลักสูตร th_TH
dc.subject หลักสูตร th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการรายวิชาวิทยาศาสตร์และภาษาไทย เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเขาทอง จังหวัดจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative The development integrated curriculum of science and Thai language courses on topic "Living Plant" for grade 4 students of Ban Khaothong School, Chantaburi province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 10
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The purpose of this research were to: 1) develop integrated curriculum of science and thai language courses on topic “Living Plant” for grade 4 students of Ban Khaothong school, Chantaburi province. 2) compare achievement of studying science after studied with integrated curriculum higher than the pretest and higher than standard 3) compare achievement of studying thai language after studied with intergrated curriculum higher than the pretest and higher than standard 4) study the attitude towards learning of integrated curriculum. The research process was divided into four phases: 1) curriculum development 2) curriculum evaluation 3) curriculum implementation and 4) curriculum improvement. The population used in research consisted of 16 Grade 4 students of Ban Khaothong school, Chantaburi province in the second semester of academic year 2012. The method was used in intergrated curriculum, learning plans management, test of achievement studying for science, test of achievement for thai language and test of attitude for integrated curriculum. The statistics utilized in analyzing the data included mean, percentage, standard deviation and t-test one sample The result of research found that integrated curriculum is suitable (X̅ = 4.29, SD = 0.47) and contain all factors which is accordingly (0.95) and achievement of studying science after studied with integrated curriculum higher than the pretest with the significance at .05 level and higher than standard which is 70 percent. Achievement of studying thai language after studied with integrated curriculum higher than the pretest with the significance at .05 level and higher than standard which is 70 percent. And Attitude of studying for integrated curriculum level very good. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of education and social development
dc.page 175-185.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account