DSpace Repository

ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Show simple item record

dc.contributor.author ภัทรภร ชัยประเสริฐ
dc.contributor.author ศรัณย์ อัมระนันท์
dc.contributor.author กิตติมา พันธ์พฤกษา
dc.contributor.author ธนาวุฒิ ลาตวงษ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.available 2019-03-25T09:20:07Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2932
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง(Quasi-experimental research)มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูงการจัดดารเรียนรู้แบบปกติ 2) เปรียบเทียบผลประสัมทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง หลังเรียนกับก่อนเรียน 3) เปรียบเทียบการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูงกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ 4) เปรียบเทียบการใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง หลังเรียนกับก่อนเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชลราษฎรอำรุง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 2 ห้องเรียน 100 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง และกลุ่มควบคุม 1 ห้องเรียน จำนวน 50 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง แผนการ เรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ สถิติที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง โคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง สูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลประสัมฤทธิ์ทางเรื่องการเรียน พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัด การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3. การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง สูงกว่าการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใชคำถามระดับสูง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ th_TH
dc.subject การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ th_TH
dc.subject วิทยาศาสตร์ - - การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยเน้นการใช้คำถามระดับสูง เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 th_TH
dc.title.alternative Effects of inquiry based approach emphasizing higher order questions on covalent bond in learning achievement and scientific reasoning of 10th grade students en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 26
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative This study was a quasi-experimental research. The objectives of this research were 1) to compare learning achievement on covalent bond of students after using an inquiry based approach emphasizing higher order questions with that after using a traditional instruction, 2) to compare learning achievement on covalent bond of students before and after using the inquiry based approach emphasizing higher order questions, 3) to compare scientific reasoning on covalent bond of students after using the inquiry based approach emphasizing higher order questions with that after using the traditional instruction, and 4) to compare scientific reasoning on covalent bond of students before and after using the inquiry based approach emphasizing higher order questions. The participants of this research consisted of two classrooms from 10th grade students at Chonradsadonumrung School in the first semester of academic year 2014, which were randomly selected by using cluster sampling. One classroom was an the experimental group (n=50) taught with the inquiry based approach emphasizing higher order questions whereas the other was a control group (n=50) taught with the traditional instruction. The research instruments were the inquiry based instruction emphasizing higher order questions lesson plans, the traditional approach lesson plan, a learning achievementtest, and scientific reasoning test on covalent bond. The data were analyzed using mean, standard deviation, independent samples t-test and dependent samples t-tset. The research findings were summarized as follows: 1. The post-test mean score of learning achievement on Covalent Bond of 10th grade students after usingthe inquiry based approach emphasizing higher order questions were statistically significant higher than that after using traditional instruction at the .05 level. 2. The post-test mean score of learning achievement on Covalent Bond of 10th grade students after using inquiry based approach emphasizing higher order questions were statistically significant higher than the pre-test mean score of the at the .05 level. 3. The post-test mean score of scientific reasoning on Covalent Bond of 10th grade students after using inquiry based approach emphasizing higher order question were statistically significant higher than after using traditional instruction at the .05 level. 4. The post-test mean score scientific reasoning on Covalent Bond of 10th grade students using inquiry Based approach emphasizing higher order question were statistically significant higher than the per-test Mean score of that at the .05 level. en
dc.journal วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education, Burapha University
dc.page 56-70.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account