DSpace Repository

การเรียนรู้รวมแบบลูกผสมสำหรับการประมาณมูลค่าซอฟต์แวร์

Show simple item record

dc.contributor.author สุวรรณา รัศมีขวัญ th
dc.contributor.author กฤษณะ ชินสาร th
dc.contributor.author เบญจภรณ์ จันทรกองกุล th
dc.contributor.author ภูสิต กุลเกษม th
dc.contributor.author สุนิสา ริมเจริญ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:24Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:24Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/291
dc.description.abstract การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นกิจกรรมหลักซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงมากในเกือบทุกองค์กรและมีการประเมินค่าซอฟต์แวร์ ซึ่งหมายถึงกระบวนการที่ใช้ในการพยากรณ์ความพยายามที่ต้องใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ได้มีการวิจัยด้านการประเมินมูลค่าซอฟต์แวร์ซึ่งแบ่งออกเป็น 2กลุ่มหลัก คือ กลุ่มวิธีการแบบพาราเมติก (Parametric Learning) และกลุ่มวิธีการแบบแมชชีนเลินนิ่ง (Machine Learning) มาแล้วไม่น้อยกว่า 30 ปี แต่ปรากฎว่าผลที่ได้รับนั้นยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในงานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีการนำเสนอวิธีการแบบเอนเซมเบิ้ลนิวรอนเน็ตเวอร์ค (Ensemble Neural Network) ซึ่งหมายถึงการใช้การผสมผสานวิธีการที่เหมาะสมจากกลุ่มของวิธีการแมชชีนเลินนิ่ง (Machine Learning) เข้าด้วยกัน เพื่อแก้ข้อพกพร่องของวิธีการแบบพาราเมตริก (Parametric Learning) ในประเด็นที่ไม่สามารถจัดการกับเงื่อนไขพิเศษ เช่น บุคลากร ทีมงาน และ การจับคู่ระดับความชำนาญกับงาน นอกจากนั้นในวิธีการที่มีอยู่เดิม ถ้าหากมีความจำเป็นอยู่เดิม ถ้าหากมีความจำเป็นในการปรับแต่งค่าในภายหลังก็ต้องจัดการด้วยตนเอง สำหรับขั้นตอนในการประเมินค่าซอฟต์แวร์นั้นประกอบด้วยกระบวนการ 3 ขั้นตอนกล่าวคือ 1. การวัดขนาดซอฟต์แวร์ (Software Size) ซึ่งโดยทั่วไปดำเนินการด้วย 2 วิธีการ คือ วัดจากจำนวนชุดคำสั่ง (Code size metrics) และ วัดจากจำนวนฟังก์ชัน (Functionality metrics) 2. การวัดระดับความพยายาม (Software Effort) ซึ่งทั่วไปจะวัดอยู่ในรูปของระยะเวลาที่ต้องใช้ต่อคน เช่น วัดต่อหน่วยจำนวนคนต่อหน่วยเวลา ซึ่งพิจารณาประเด็นของภาษาที่ใช้ในการพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒา ปริมาณขององค์ประกอบที่ได้จากระบบเดิม เวลาที่สามารถที่ใช้ในการทำงานได้ ผลผลิตต่อบุคคล ความยากง่ายของงาน เป็นต้น 3. การคิดค่าใช้จ่าย (Software Cost) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 และ 2 มาคำนวนจากค่าแรงมาตรฐานตามความชำนาญเฉพาะทางของบุคลากรในทีม จากขั้นตอนการประเมินค่าซอฟต์แวร์ที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยคาดหวังว่าการวิจัยโครงการนี้จะนำไปสู่การเลือกวิธีการและปัจจัยที่เหมาะสมในการประเมินค่าในตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ซึ่งจะส่งผลต่อการประเมินค่าใช้จ่ายที่ใกล้เคียงกับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นจริงโดยมีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยลงจากวิธีการที่มีอยู่ในปัจจุบัน th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ซอฟต์เเวร์ - - ต้นทุนการผลิต th_TH
dc.subject ซอฟแวร์ - - การพัฒนา - - การประเมินราคา th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title การเรียนรู้รวมแบบลูกผสมสำหรับการประมาณมูลค่าซอฟต์แวร์ th_TH
dc.title.alternative Hybrid ensemble learning for software cost estimations en
dc.type Research th_TH
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative Software Development is a crucial activity and a high cost one in any type of organization witch has different context. Software cost estimation is a process to forecast effort needed for any software development. There are two main approaches in software cost estimation. The first one is parametric models. For the last 30 years, there is a great number of researches that try to come-up with a more efficient method. In this research report, have proposed “Ensemble Neural Network” as an alternative approach to estimate software cost. The proposed method will help to deal with factors on human resource skill, team work, skill matching and those automatic adjustments that Parametric Methods seem to have some difficulty. In estimating software cost, there are three steps: 1 Measuring software size; in terms of code size metrics or functionality metrics 2. Forecasting effort need; in terms of time needed for each staff in performing their tasks and 3. Estimating software cost; in terms of amount of money. According to these steps, we proposed an alternative approach that will select more proper features in steps one and two. So that the software cost estimation step no. 3 will be improved en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account