DSpace Repository

ละครเพื่อการเรียนรู้: การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ผ่านละคร สำหรับพัฒนาเยาวชนในศตวรรษที่ 21

Show simple item record

dc.contributor.author ไพบูลย์ โสภณสุวภาพ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะดนตรีและการแสดง
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:20:03Z
dc.date.available 2019-03-25T09:20:03Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2862
dc.description.abstract บทความนี้นำเสนอประสบการณ์เกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการละครเพื่อการเรียนรู้สำหรับพัฒนาเยาวชนในศตวรรษที่ 21 ผ่านรายวิชาละครเพื่อการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ให้แก่นิสิตวิชาเอกการแสดงและกำกับการแสดง สาขาศิลปะการแสดง คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา มีนิสิตเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 16 คน โดยออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ที่เรียกว่า ละครเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งพัฒนามาจากแนวคิดด้านละครกับการเรียนรู้ แนวคิดการเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ตรง (Experiential Learning) และแนวคิดของผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) ทั้งนี้ได้ออกแบบกระบวนการละครเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องมือในการตนและการอยู่ร่วมกัน ขั้นตอนที่สองการสำรวจมุมมองชีวิตผ่านกิจกรรมเชิงละคร และขั้นตอนที่สามการเปิดมุมมองใหม่จากการพาเรียนรู้ชุมชนและสิ่งแวดล้อม วิธีการเก็บข้อมูลประกอบไปด้วยการสังเกต การจดบันทึก การจัดกิจกรรมสะท้อนความคิดเห็นและความรู้สึก (Refection) เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลประกอบไปด้วย สมุดบันทึกของผู้สอนและผู้เรียน ภาพวาด และข้อเขียนต่าง ๆ และผลงานการแสดงละคร จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงมุมมองของผู้เรียนในประเด็นการพัฒนาเยาวชนในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งสร้างให้เยาวชนมีจิตสำนึกต่อโลก ความรับผิดชอบต่อสังคมโลก มีทักษะการสื่อสารและทำงานร่วมกัน เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มและการชี้นำตนเอง ผลการศึกษาพบว่า ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะของเยาวชนในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนรู้สึกถึงความเชื่อมโยงระหว่างตนเองกับสิ่งแวดล้อม เกิดสำนึกเรื่องการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่สามารถเริ่มต้นจากการเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง เคารพและชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง ผู้อื่นและชุมชน เริ่มยอมรับในกันและกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น เกิดการสื่อสารอย่างตรงไปตรงมา นำพาให้ผู้เรียนย้อนคิดคำนึงถึงเส้นทางการใช้ชีวิตของตนเองโดยพาไปสู่การเรียนรู้มุมมองชีวิตใหม่ จนก่อร่างความคิดว่าตนเองคือผู้ที่สามารถลงมือกระทำบางสิ่งในฐานะพลเมืองโลกได้ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การพัฒนาเยาวชน th_TH
dc.subject การเรียนรู้ th_TH
dc.subject ละคร th_TH
dc.subject ละครกับเยาวชน th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title ละครเพื่อการเรียนรู้: การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ผ่านละคร สำหรับพัฒนาเยาวชนในศตวรรษที่ 21 th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 1
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative This article presented experiences of the learning process of the students majoring in Acting and Directing Performances in 2nd Semester of 2014 Academic Year in the Faculty of music and Performing Arts of Burapha University as the 21st century youth development through drama courses. There were 16 students participating in the activities. The researcher designed the learning process known as "Theatre for Learning" which was developed from the Theatre concept, the Experiential Learning Approach and facilitator's concept. Step 1 was installation od the tools in the body and cohabitation. Step two was the survey of the view of lift through theater activities. Step three was the exposure from a new perspective by taking the students to learn about the communities and their environment. The data were collected through observation,note-taking,and the arrangement for the activities reflecting the views and feelings (Refection). The instrument used for data collection consisted of diaries of instructors and students, drawings, and theatrical works. The data were then analyzed of find out the students' perspectives concerning the 21st Century youth development. This learning process was experimented to build the youth to be initiative, self-directed, conscious about the world, responsible for society, and able to communicate and work with other people. The findings revealed that after the learning process, the learners began to have the desirable characteristics of the 21st Century youth who could feel a connection between themselves and the environment, who could be aware of making changes starting from themselves, and who could respect and have confidence in the potential of their own, of other people, and of the communities. The learners began to accept each other people openly. The learning process would bring back the students to think about their new own idea that they themselves could do some good things as the citizens of the world. en
dc.journal วารสารดนตรีและการแสดง = Music & Performing Arts Journal.
dc.page 112-126.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account