DSpace Repository

การควบคุมภายในวัตถุดิบคงเหลือ ของ บริษัท XYZ (ประเทศไทย) จำกัด

Show simple item record

dc.contributor.author รังสิมา วนิชพงษ์
dc.contributor.author ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง
dc.contributor.author อรนิชา โพธิ์ทอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:18:50Z
dc.date.available 2019-03-25T09:18:50Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2757
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระบบการควบคุมภายในตามแนวทางของ COSO เพื่อทำให้มีความรู้ความเข้าใจระบบการควบคุมภายใน สามารถวิเคราะห์ผลและเปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริงและสามารถเสนอแนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในของบริษัท XYZ (ประเทศไทย) จำกัด โดยวิธีการสังเกตการปฏิบัติงานและสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในแผนกจัดซื้อ แผนกคลังสินค้าและแผนกบัญชี ทั้งหมด 11 คน ผลการศึกษา พบว่า บริษัท XYZ (ประเทศไทย) จำกัด มีระบบการควบคุมภายในด้านวัตถุดิบคงเหลืออยู่ในระดับปานกลางถึงดี สอดคล้องกับแต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายในตามแนวทางของ COSO ยกเว้น เรื่องการสอบทาน การติดตามประเมินผลและการประเมินความเสี่ยงที่ยังมีความไม่สอดคล้องบางเรื่อง เช่น การประเมินผลการดำเนินงานตามแผน การระบุเหตุการณ์เสี่ยงและประเมินความเสี่ยง การสอบทานการขอซื้อและการรับวัตถุดิบจากฝ่ายคลังสินค้าของบริษัท ควรพัฒนาปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของระบบการจัดซื้อให้เพียงพอเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพิ่มการมอบหมายอำนาจหน้าที่ การสอบทาน การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับแผน ตลอดจนจัดให้มีการบริหารความเสี่ยง และหน่วยงานตรวจสอบภายในควรวางแผนงานตรวจสอบรวมทั้งกำหนดแนวทางและขอบเขตการตรวจสอบให้สอดคล้อง เพื่อลดจุดอ่อนและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยการวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้บริษัทควรให้ความสำคัญกับการตรวจสอบยอดสินค้าคงเหลือของฝ่ายสินค้ากับรายงานสรุปสินค้าคงเหลือให้ความสำคัญในการจัดทำรายงานสินค้าคงเหลือที่มีการเคลื่อนไหวช้า th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การควบคุมภายใน th_TH
dc.subject วัตถุดิบคงเหลือ th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title การควบคุมภายในวัตถุดิบคงเหลือ ของ บริษัท XYZ (ประเทศไทย) จำกัด th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 9
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative This research has the objectives to study and compare the internal control system according to COSO approach in order to learn and help understand about internal control system, to be able to analyze the result and compare actual implementation; and to recommend the solutions guideline to fix the flaws concerning the internal control system of XYZ (Thailand) Co., Ltd. The methodology used included Observation on the working and Interview with 11 executives and workers in Procurement, Inventory, and Accounting departments. Results indicate that XYZ Co., Ltd. has moderate to good level of internal control for inventory, complying with each element of internal control by COSO approach. However, there still are three elements; Auditing, Monitoring, and Risk Assessment; which do not comply with some issues including performance evaluation according to the plan, risk events identification, risk assessment, purchasing order verification, and receiving raw materials from the inventory unit of the company. The internal control for procurement should be sufficient, appropriate, and efficient. The company should delegate more the authorization for auditing, should compare its performance to the plan, and set up risk management. The internal auditing unit should plan on monitoring and specify consistent guidelines and boundary for monitoring in order to decrease weakness and increase work performance. Recommendations from this research would be that the company should pay attention to monitoring the inventory of product department with inventory report and preparing report of inventory that moves slowly to prevent excessive inventory. Additionally, the company should have internal monitoring unit to monitor and control the working so as to ensure that it complies with the internal control principle of the company. This would help prevent the risks that might happen in the future. en
dc.journal วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review
dc.page 75-87.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account