DSpace Repository

การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดและวิเคราะห์กรดไขมันจากเนื้อในเมล็ดมะม่วงด้วยเทคนิค GC-FID ใช้คอลัมน์ DB-225 ความยาว 20 เมตร

Show simple item record

dc.contributor.author อภินทร์พร ทวีพรกลพัฒน์
dc.contributor.author ปิยะวรรณ ศรีวิลาศ
dc.contributor.author สุนันทา วังกาน
dc.contributor.author ศิริรัตน์ ชาญไววิทย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:16:11Z
dc.date.available 2019-03-25T09:16:11Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2646
dc.description.abstract ได้ทําการสกัดกรดไขมันจากตัวอย่างเนื้อในเมล็ดมะม่วง ด้วยสารละลายผสมของไดคลอโรมีเทน เมทานอลและน้ำในอัตราส่วน 2: 1: 0.2 โดยแช่ตัวอย่าง 2 ชั่วโมง แล้วเมทิลเลชั่นที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส 10 ชั่วโมงและทําการวิเคราะห์ด้วยเครื่องแก็สโครมาโทกราฟ-เฟลมไอออไน เซชั่นด์เทคเตอร์โดยใช้ฮีเลียมเป็นแก็สพาด้วยอัตราการไหล 0.3 มิลลิลิตรต่อนาทีอุณหภูมิ ณ จุดฉีดสารและดีเทคเตอร์ 240 องศาเซลเซียส ฉีดสารปริมาตร 1 ไมโครลิตร และ Split ratio 100:1 แยกสารด้วยคอลัมน์ DB-225 (ยาว 20 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 0.10 มิลลิเมตร เคลือบสารหนา 0.10 ไมโครเมตร) โปรแกรมอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 150 องศาเซลเซียส คงที่ 0.5 นาทีเพิ่มด้วยอัตรา 100 องศาเซลเซียสต่อนาทีจนถึง 200 องศาเซลเซียส แล้วเพิ่มด้วยอัตรา 60 องศาเซลเซียสต่อนาทีจนถึง 220 องศาเซลเซียส คงที่ 14 นาที พบกรดไขมัน 9 ชนิดในตัวอย่างเนื้อในเมล็ดมะม่วงทั้ง 6 พันธุ์ กรดไขมันตัวสุดท้าย (C22:6n3) ออกมาที่เวลา 14.33 นาที th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject กรดไขมัน th_TH
dc.subject วิธีโครมาโทกราฟี th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดและวิเคราะห์กรดไขมันจากเนื้อในเมล็ดมะม่วงด้วยเทคนิค GC-FID ใช้คอลัมน์ DB-225 ความยาว 20 เมตร th_TH
dc.title.alternative An appropriate extraction and analysis conditions for the determination of fatty acids from mango seeds kernel by GC-FID using 20 meter DB-225 column en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue ฉบับพิเศษ ประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัย.
dc.volume 19
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The fatty acids from mango seeds kernel were extracted with mixed solvents of dichloromethane methanol and water in the ratio of 2: 1: 0.2 by soak sample for 2 hours then methylation at 80 °C for 10 hours and analysis by gas chromatography-flame ionization detector. Helium was used as carrier gas at 0.3 ml/min. Injection and detector temperatures were 240 ºC. Injection volume was 1 μl and split ratio at 100:1. Samples were separated with DB-225 column (20 m length, 0.10 mm. i.d., 0.1 μm. flim thickness). The program temperature was start at 150 ºC held for 0.5 min., then increase with the rate of 100 ºC /min. to 200 ºC followed by the rate of 60 ºC/min to 220 ºC and held for 14 min. We found 9 fatty acids in 6 varieties of mango seed kernels. The last fatty acid (C22:6n3) came out at 14.33 min. en
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal
dc.page 365-379.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account