DSpace Repository

การสร้างทีมงาน

Show simple item record

dc.contributor.author สุเมธ งามกนก
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.available 2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2318
dc.description.abstract ทีมงานคือกลุ่มบุคคลที่มาทำงานร่วมกัน มีการประสานหน้าที่บทบาทความรับผิดชอบ เพื่อไปสู่เป้าหมายเดียวกันคือความสำเร็จของงาน การทำงานเป็นทีมต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์ต่อกันในการสื่อสาร การประสานงาน การช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน กิจกรรมบางอย่างต้องการการทำงานเป็นกลุ่ม เช่น คณะกรรมการ การทำงานเป็นกลุ่มต้องการการทำงานร่วมกันมากกว่าก่อให้เกิดการสร้างงาน กลุ่มก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการตัดสินใจภายใต้เงื่อนไขที่แน่นอน การทำงานคนเดียวนั้นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถย่อมทำได้ แต่อาจมีข้อกำจัดจึงต้องอาศัยการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าขององค์การสถานศึกษาจะต้องมีการปรับเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการทำงานแบบใหม่ๆ ที่มุ่งเน้นการตอบสนอง ความต้องการของสังคม หนึ่งในหลายวิธี นำมาสู่ความสำเร็จคือ การอาศัยทีมงานซึ่งมีความพร้อมเพรียงและประสานการทำงานเป็นอย่างดี โดยมีเป้าหมายสูงสุดร่วมกัน คือ สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ สมาชิกของทีมงานจะต้องสามัคคีกลมเกลียวกัน และพร้อมที่จะร่วมมือกันทำทุกสิ่งทุกอย่างที่จะให้ผลงานออกมาดี ดังนั้นการสร้างทีมงานจึงเป็นสิ่งสำคัญ การมอบหมายบทบาทให้กับสมาชิกแต่ละคน เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างทีมงาน การเปลี่ยนบทบาทของสมาชิกเป็นสิ่งที่ดี ที่จะได้ฝึกทักษะ ด้านการเป็นผู้นำ ด้านการสื่อสาร และด้านสังคม การสร้างทีมงานจะสำเร็จได้ต้องอาศัยภาวะผู้นำ และกลยุทธ์ของผู้บริหารในการสร้างทีมงาน ดังนั้น หากผู้บริหารให้ความสำคัญต่อทีมงาน และสร้างทีมงานที่มีคุณภาพขึ้นมา ทีมงานนั้นจะช่วยสร้างคนที่มีประสิทธิภาพขึ้นมา ทั้งนี้เพราะการทำงานเป็นทีมจะทำให้สมาชิกเกิดการเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน และเห็นแบบอย่างในการทำงานของเพื่อนร่วมงาน สถานการณ์ดังกล่าว ทำให้สถานศึกษามีบุคลากรที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นและจะช่วยพัฒนาสถานศึกษาให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นต่อไป th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject กลุ่มทำงาน th_TH
dc.subject การทำงานเป็นทีม th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.title การสร้างทีมงาน th_TH
dc.title.alternative Team Building en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 19
dc.year 2550
dc.description.abstractalternative Teamwork is defined as a group of people who work cooperatively together, coordinate their roles and functions to accomplish the common goals. The team needs interaction in communication, coordination and helping each other for the purpose of effective performance. Some activities need to work in group as acommittee rather than creating the jobs themselves. The group can work efficiently in decision-making under certain circumstances. Working individually, on the other hand, can achieve the goals if the pesson has sufficient capacity to do the job but some limitations might occur. It is necessary to work together in order to create quality performance. Therefore, the achievement of efficient cooperative working, will bring organizational development. An educational instution needs to adapt itself and learns how to learn by seeking new working techniques in order to respond the social needs. One of the techniques in bringing towards the job achievement is to build effective teamwork to do the job harmoniously and cooperatively for the purpose of ultimate common goals, that is the customers' satisfaction. The team member need to be united and be ready to work with other members for the good work results. Hence, team building is one of the key interventions for organization development. Empowerment of the team members' roles, change of their roles are important for training leadership skills, communication skills, and social skills. Building teamwork successfully depends on administrative leadership skills and management strategies. If the administrator pays attention to effective team building, the team will help create effective persons because teamwork would encourage the group members to share their learning, as well as, getting the working models of their friends. This situation creates more qualified personnel in organization, thus this would help the development of educational institutions to be growth continually. en
dc.journal วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page 31-43.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account