DSpace Repository

การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องอาชีพการทำสวนลำไยในชุมชนโป่งน้ำร้อนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน

Show simple item record

dc.contributor.author ไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.author อารมณ์ เพชรชื่น
dc.contributor.author ฤทัย สุขเลิศ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.available 2019-03-25T09:14:43Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2316
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องอาชีพการทำสวนลำไยในชุมชนโป่งน้ำร้อน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี มีวิธีการดำเนินงาน 5 ขั้นตอน คือ 1. การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2. การสร้างหลักสูตร 3. การประเมินหลักสูตรก่อนนำไปใช้ 4. การนำหลักสูตรไปทดลองใช้ 5. การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้หลักสูตร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี จำนวน 25 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ประเมินหลักสูตรโดยวิธี Puissance Measure (P.M) เพื่อหาคุณภาพของหลักสูตรก่อนนำไปทดลองใช้โดยผู้วิจัยแบบ One group-Pretest- Posttest Design การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการที่มีคุณภาพสูง หลักสูตรองค์ประกอบครบถ้วน หลักสูตรมีความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นของผู้เรียนและมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวัน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการใช้หลักสูตรท้องถิ่นสูงกว่าก่อนการใช้หลักสูตรท้องถิ่นอย่างมีสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนผ่านเกณฑ์อยู่ในระดับดีมาก 4. เจตคติของผู้เรียนต่ออาชีพการทำสวนลำไยหลังจากการทดลองใช้หลักสูตร เจตคติหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ .01 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject กลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ - - หลักสูตร th_TH
dc.subject การทำสวน th_TH
dc.subject การวางแผนหลักสูตร th_TH
dc.subject หลักสูตร th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นแบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องอาชีพการทำสวนลำไยในชุมชนโป่งน้ำร้อนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน th_TH
dc.title.alternative The development of the integrated local curriculum on the occupations and technology subjects on the topic "Logan gardener in Pongnamron Community" for mathayomsuksa 1 students of Banpongnamron School en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 3
dc.volume 22
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to develop a integrated local curriculum on occupations and technology subjects. “Longan gardener in pongnamron community” for Matthayomsuksa 1 students of banpongnamron school. The research procedure was divided into 5 phases: 1) background information study 2) curriculum development 3) evaluation before implementation 4) curriculum implementation 5) curriculum revision The samples used this testing curriculum were the students in 1 classroom, 25 students in the second semester of the 2009 academic year of banpongnamron school. They were selected through cluster sampling. The curriculum was modified and evaluated through puissance Measure (P.M.) model in order to identify its value before being tried out by the researcher. The achievement test was used to compare pretest posttest scores and the observation form of working practice skill was used to indicated the quality of the learners. The one-Group-Pretest-Posttest Design was adopted in the experiment. Statistical Techniques used in this study were mean, standard deviation and t-test The results of the research were as follows: 1. The local curriculum integrated was high-quality. The component of the curriculum were complete It was found that the curriculum was suitable conditions for learners and useful and daily life. 2. The experiment indicated that the students achievement in the posttest was higher than in the pretest with statistical significance at the .01 level. 3. The work-performance skill of the students passed the criterion at a very high level 4. The student attitude toward the LOGAN GARDENER were higher with statistical at the .01 level en
dc.journal วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา = Journal of education
dc.page 100-113.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account