DSpace Repository

การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในอาคารเรียนด้วยเทคโนโลยีตรวจจับการเคลื่อนไหว

Show simple item record

dc.contributor.author มานพ แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:49Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2235
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในอาคารเรียนด้วยการใช้เทคโนโลยีตรวจจับการเคลื่อนไหว ที่อาศัยเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีชื่อว่า พีไออาร์ มูฟเมนต์ ดีเทคเตอร์ (PIR Movement Detector) ที่ทำหน้าที่เป็นตัวตรวจจับรังสีอินฟราเรด (Infrared) ของอาจารย์และนิสิตที่ผ่านเข้ามา แล้วนำไปควบคุมระบบไฟฟ้าของอาคาร การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์: 1) เพื่อเลือกใช้อุปกรณ์ตรวจจับ การเคลื่อนไหว และออกแบบระบบวงจรควบคุมการเปิด-ปิดไฟฟ้าอัตโนมัติในอาคาร 2) เพื่อแก้ปัญหาการเปิดไฟฟ้าทิ้งไว้หลังจากการใช้งานแล้ว 3) เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าในอาคารเรียน และ 4) เพื่อหาต้นแบบระบบเทคโนโลยีตรวจจับการเคลื่อนไหวที่จะนำไปใช้ในฝึกอบรมนิสิตสาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการศึกษา และผู้ที่มีความรู้พื้นฐานทางไฟฟ้านำไปทำใช้เองได้ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ทำการทดลองที่อาคาร 60 พรรษามหาราชินี 1 (QS1) มหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งเป็นอาคารเรียนรวมที่ใช้เพื่อการเรียนการสอนให้กับนิสิตทุกคณะในมหาลัยบูรพาทุกวันตั้งแต่ 8.00 น. จนถึง 20.00 น. ไม่มีวันหยุด ประกอบด้วยห้องเรียนใหญ่ที่จุคนได้ จำนวน 150 คน – 350 คน จำนวน 10 ห้อง คือห้อง 101, 102, 201, 202, 301, 302, 401, 402, 501, และ 502 โดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้ 1. สำรวจการเปิด – ปิดไฟฟ้าใช้ทั้ง 10 ห้อง ระหว่างเดือน มกราคม – เดือนกุมภาพันธ์ 2548 2. ออกแบบระบบและทดลองอุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหวในห้องทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพ ของการทำงาน 3. ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับการเคลื่อนไหวทั้งระบบในห้องเรียน จำนวน 10 ห้องพร้อมสับเปลี่ยน ระบบศูนย์กลางควบคุมไฟฟ้า (Load Center) ที่มีอยู่เดิมเข้ากับระบบใหม่ 4. บันทึกผลการเปิด – ปิดไฟฟ้าในห้องเรียนแบบอัตโนมัติที่ควบคุมด้วยระบบตรวจจับการเคลื่อนไหว 5. เปรียบเทียบการใช้กระแสไฟฟ้าของห้องเขียน ก่อนและหลังการติดตั้งระบบอัตโนมัติที่ควบคุมด้วยอุปกรณ์ตรวจจับการเคลื่อนไหว ผลการศึกษาพบว่า 1. ได้อุปกรณ์ตรวจจับการเคลื่อนไหวที่เหมาะสมและวงจรไฟฟ้าที่ทำงานได้ตามต้องการและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับอาคารต่าง ๆ ที่ประสบปัญหาในลักษณะเดียวกันได้ 2. สามารถแก้ปัญหาการเกิดไฟฟ้าทิ้งไว้ในห้องเรียนได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ 3. สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าในของห้องเรียนที่ควบคุมด้วยระบบตรวจจับการเครื่องไหวได้อย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ 4. ได้ต้นแบบระบบวงจรควบคุมไฟฟ้าอัตโนมัติของห้องเรียน และเทคโนโลยีตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ฝึกอบรมนิสิตสาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมศึกษาและผู้ที่ความรู้พื้นฐานทางไฟฟ้านำไปทำใช้เอง th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject พลังงานไฟฟ้า - - การอนุรักษ์ th_TH
dc.subject พลังงานไฟฟ้า th_TH
dc.subject ไฟฟ้า th_TH
dc.subject อาคารเรียน - - การอนุรักษ์พลังงาน th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ th_TH
dc.title การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในอาคารเรียนด้วยเทคโนโลยีตรวจจับการเคลื่อนไหว th_TH
dc.title.alternative The electricity conservation in classroom building by using movement detector technology en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 1
dc.year 2548
dc.description.abstractalternative The study of electricity conservation in classroom building by using the Movement Detector technology, known as PIR movement detector, to catch the Infrared passing by and to control the electricity system in the building. This study aimed to study in the following aspects: 1) To select the electronic equipment named the Movement Detector by design an automatic electrical circuit to control the turn on/off electrical power in the building, 2) to solve the problem of wasting electrical power after classes, 3) to save electrical power in the classroom building and 4) to find the system model of automatic movement detector to train the students majoring in Industrial Technology Education as well as the people who has the basic knowledge in electricity could do by themselves. This study located the experiment in the Hoksibphansa Maha Rajinee I Building (QS2) at Burapha University. The building is used as the centre of learning classroom for all students from 8 am.-8 pm. everyday. The building contained 10 big classroom and the rooms number were 101,102,201,202,301,302,401,402,501 and 502. The experiment consisted of the following steps: 1. To survey the turn on/off electrical power in the 10 classroom during January-February 2005. 2. To design the system and try on the Movement Detector System in experiment rooms to test the working efficiency 3. To install the Movement Detector System in the 10 classrooms and change the old Load Center to the new system. 4. To record the results of automatic electricity turn on/off in the classrooms which are controlled by the Movement Detector System. 5. To compare the electricity used in the classrooms before and after the installation of the classrooms before and after the installation of the equipments. The results of the study revealed as follows: 1) the Movement Detector and the electrical circuit were appropriate and could serve need of the used. Moreover, it could apply with various buildings, 2) it could solve the problem of electricity waste in the classroom with 100 percent. 3) It could save the electricity in the classrooms which were controlled by the mentioned system at least 40 percent 4) had an automatic electricity control model for classrooms and a model to conserve electricity to train the Industrial Technology Education students. Besides, the people who have the electricity backgrounded could do by themselves. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page 73-86.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account