DSpace Repository

การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของภาคตะวันออกยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่ถึงปัจจุบัน

Show simple item record

dc.contributor.author ภารดี มหาขันธ์
dc.contributor.author คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:43Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2172
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่อง “การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของภาคตะวันออกยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่ถึงปัจจุบัน” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มีวัตถุประสงค์จะสืบค้น รวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับภาคตะวันออก ทั้งที่เป็นข้อมูลลายลักษณ์ และมิใช่ลายลักษณ์ มาตรวจสอบ วิพากษ์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงจนได้ทัศนภาพ(Historical Perspective) เกี่ยวกับภาคตะวันออกที่ถูกต้อง ชัดเจน มีพลวัตร และเข้าถึงได้ง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคตะวันออกยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่เป็นต้นมา โดยใช้วิธีวิทยาเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Methodology) ผลการวิจัยพบว่า นับตั้งแต่ยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่เป็นต้นมา ปัจจัยทางด้านเศรษฐภูมิ ภูมิรัฐศาสตร์ ภูมิสังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ส่งเสริมให้ภาคตะวันออกเป็นภูมิภาคที่โดดเด่นขึ้นโดยลำดับ มิใช่เพียงในทรรศนะของผู้ปกครองไทยเท่านั้น แม้ในทรรศนะของชาวต่างประเทศที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนา ทูตานุทูต พ่อค้า (นักธุรกิจ นักลงทุน) ต่างพิจารณาเห็นต้องกัน ภาคตะวันออกจึงได้รับการพัฒนาขึ้นทั้งจากภาครัฐ และภาคเอกชน จนเป็นภูมิภาคที่มีโครงสร้างพื้นฐานสมบูรณ์ เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม ทั้งอุตสาหกรรมการเกษตร เครื่องจักรกล เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ การท่องเที่ยว การบริการ การคมนาคมขนส่ง การสื่อสาร ตลอดจนอุตสาหกรรมพลังงาน ด้านการรักษาความปลอดภัย เป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือ และหน่วยทหารบก รวมทั้งสถาบันการศึกษาของทหาร ด้านสังคมและสาธารณสุขก็เช่นเดียวกัน ภาคตะวันออกพรั่งพร้อมด้วยสถาบันการศึกษาทุกระดับและทุกสาขา โรงพยาบาล สาธารณสุข แพทย์ทางเลือก สวยสมุนไพร ฯลฯ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จึงเป็นภูมิภาคที่เป็นทั้งต้นแบบและบทเรียนของการพัฒนาแบบก้าวกระโดด โดยอาศัยภูมิปัญญาและเทคโนโลยีสำเร็จรูปจากภายนอก ซึ่งมีพื้นฐานทางธรรมชาติ (สิ่งแวดล้อม) สังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างมาใช้เป็นหลักในการพัฒนา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การตั้งถิ่นฐาน - - ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH
dc.subject การเปลี่ยนแปลงทางสังคม - - ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH
dc.subject ไทย (ภาคตะวันออก) - - ประวัติศาสตร์ th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของภาคตะวันออกยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่ถึงปัจจุบัน th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 34
dc.volume 20
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative This qualitative research entitled “The Settlement and Development on the Eastern Region of Thailand from Modernization Period to the Present” is aimed firstly to investigate and to collect both written and non- written factual information about the eastern region of Thailand; secondly: to critically examine, to synthesize, and to integrate the information using historical methodology for establishing accurate historical perspective on this region especially from westernization period. The findings are that since Modernization period, not only in governmental view but also in foreigners’ (missionary, diplomatic groups, merchants including businessmen and investors) view, the eastern region has been gradually enhanced by factors of geo-economy, geo-politics, geo-society, culture, and wisdom. The region has been developed by both governmental and private sectors until its infrastructure is in a condition for industrialization and business operation. Industries and businesses having been operated in the region agricultural industry, machinery, electronics, tourism, service, transportation and logistics, communication, and energy. For security factor, naval base, military units and military educational institute and also located in the region. For social and health factor, educational institute of all levels and all fields of knowledge are located in the region; in addition, governmental and private hospitals, health centers, optional medical care centers, and medicinal herb gardens and etc. are available in this region. As a consequence, this region provides a model and lesson of undergoing a rapid change depended mainly on culturally and environmentally different external intellectual and technology. en
dc.journal วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 111-132.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account