DSpace Repository

การศึกษาเทคโนโลยีเครื่องปั้นดินเผาแหล่งจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ภรดี พันธุภากร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:19Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:19Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/215
dc.description.abstract โครงการนี้วิจัยเรื่อง “การศึกษาเทคโนโลยีเครื่องปั้นดินเผาแหล่งจันทบุรี” เป็นการศึกษาถึงความเป็นมาเครื่องปั้นดินเผาจังหวัดจันทบุรี เทคโนโลยีกระบวนการผลิต ความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกับแหล่งเครื่องปั้นดินเผาอื่น ประเภท และรูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่ปรากฏ โดยเน้นการศึกษาภาคสนาม การสังเกต การสัมภาษณ์ จากบุคคลในแหล่งโรงงานจำนวน 7 โรงงาน จากการศึกษาวิจัยทำให้ทราบว่า เครื่องปั้นดินเผาแหล่งจันทบุรีมีการก่อเกิดมามากกว่า 100 ปี โดยเริ่มมาจากกลุ่มช่างปั้นชาวจีนแคะ จากตำบลปังโคย เมืองซัวเถา มณฑลกวางดุ้ง โดยมาทำที่แหล่งบ้านเตาหม้อ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี และเดินทางตามกันมาในหมู่เครือญาติ ทั้งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับ เครื่องปั้นดินเผาราชบุรี และเครื่องปั้นดินเผาปากเกร็ด เครื่องปั้นดินเผาจันทบุรีมีการพัฒนามาเป็นลำดับ จากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันอยู่ในรุ่นที่ 3 และรุ่นที่ 4 โดยสามารถแบ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์ออกได้เป็น 4 ประเภท 1.โอ่ง อ่าง กระถาง ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ใช้เคลือบดินเลนและขี้เถ้าเผาเตาฟืน อุณหภูมิประมาณ 1200-1230 องศาเซลเซียส 2.กระเบื้องดินเผาและสิ่งประดับสถาปัตยกรรม ขึ้นรูปด้วยเครื่องอัดดิน ใช้เคลือบดินเลนและตะกั่วเผาด้วยเตาแก๊สแบบอัตโนมัติ อุณหภูมิการเผาประมาณ 950 องศาเซลเซียส 3.อิฐก่อสร้างและอิฐประดิษฐ์ขึ้นรูปด้วยเครื่องรีดดิน อัดดิน ไม่มีการเคลือบ เผาด้วยเตาฟืน อุณหภูมิประมาณ 800 องศาเซลเซียส 4.กระถางแดงขึ้นรูปด้วนแป้นหมุน ไม่มีการเคลือบ เผาด้วยเตาฟืน อุณหภูมิประมาณ 800-900 องศาเซลเซียสโดยอาจมีการตกแต่งด้วยสีน้ำมันภายหลัง 5.ถ้วยรองยางขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ทั้งมีการปรับเปลี่ยนด้วยการขึ้นรูปด้วยเครื่องมากขึ้น ส่วนใหญ่เผาด้วยเตาฟืน ผสมไปกับการเผาโอ่ง อ่าง กระถาง ในอุณหภูมิประมาณ 1200-1230 องศาเซลเซียส เครื่องปั้นดินเผาจันทบุรีทั้ง 7 โรงงานใช้ดินในพื้นที่เขตอำเภอท่าใหม่ และอำเภอนายายอาม คือดินท่าใต้ ดินบ้านสิ้ว ดินหนองสีงา และดินหนองคล้า ใช้เคลือบจากดินเลนวัดท่าลาดและขี้เถ้าเหลือทิ้งจากโรงงานต่างๆ การเผาใช้เตาฟืนขนาดใหญ่ นอกเสียจากกระเบื้องดินเผาและสิ่งประดับสถาปัตยกรรมที่ใช้เตาแก๊สเผาต่อเนื่องแบบระบบอุสาหกรรม และปัจจุบันมีการขยายตัวในการผลิตถ้วยรองยางขึ้นมาก ทำให้มีการสร้างเตาฟืนใหม่ และสั่งซื้อเตาแก๊สเพิ่มเติม th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน พ.ศ. 2552 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.subject เครื่องปั้นดินเผา - - การผลิต th_TH
dc.subject เครื่องปั้นดินเผา th_TH
dc.title การศึกษาเทคโนโลยีเครื่องปั้นดินเผาแหล่งจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative A Study on Chanthaburi ceramics technology en
dc.type Research th_TH
dc.year 2552
dc.description.abstractalternative “A Study on Chanthaburi Ceramics Technology” is a research project to study about the background, techniques, production process, relations with other kiln sites, as well as categories and forms of Ceramics product of Chanthaburi Ceramics. Data were collected by means of field studies, observation, and interviews with personal in 7 Ceramics plants. According to research, Ceramics production in Chanthaburi was first established at Ban Toa Mo, Amphoe Tha Mai, by Hakka Chinese potters from Swatow (Shantoa), Guangdong Province, China. The kiln were inherited by their relatives from mainland China, and have since existed for over 100 years. Chanthaburi Ceramics of Ratchaburi and Pak Kret in Nonthaburi. The Chanthaburi Ceramics has gone through phases of development and is now in its 3rd and 4th generation; and the products can be classitied into 4 categories: 1. Jar, bowls, and plant post: shaped by wheel throwing, coated with clay slip and ash glazes, wood-fired at temperatures between 1,200-1,230 °C. 2. Terracotta tiles and architectural element: shaped by pressing, coated with clay slip and lead glazes, fired in automatic gas kiln at a temperature of approximately 950 °C. 3. Construction and ornamental bricks: shaped by extruding, unglazed and wood-fired at a temperature of approximately 800 °C. 4. Red plant post shaped by wheel throwing, unglazed and wood-fired at temperatures between 800-900 °C, sometimes finished with oil plant. 5. Latex cups: shaped by wheel throwing and increasingly by machine, mostly wood-fired in the same kilns as jars, bowls, and plant post at temperatures between 1,200-1,230 °C. All the 7 Ceramics plants in Chanthaburi use local clay from Amphoe Tha Mai and Amphoe Na Yai Am; namely, Tha Tai clay, Ban Soi clay, Nong Si Nga clay, and Nong Khla clay. The clay slip is prepared from Wat Tha Lat muddy clay and ash glazes from remaining ashes of various plants. Large wood-fired kilns are used except for terracotta tiles and architectural elements that are fired in industrial gas kilns. Moreover, the production of latex cup is presently expanding, which has resulted in more construction of wood-fired kilns and increasing demand of gas kilns. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account