DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอย ฟลักซ์ของธาตุอาหารอนินทรีย์ต่อความหลากหลายทางชีวภาพของปะการังบริเวณหาดเจ้าหลาว จังหวัดจันทบุรี ปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.author เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.author อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
dc.contributor.author ชลี ไพบูลย์กิจกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:10:01Z
dc.date.available 2019-03-25T09:10:01Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1973
dc.description.abstract การศึกษาทิศทางการไหลของน้ำและ ปริมาณตะกอนแขวนลอยต่อความหลากหลายของปะการังบริเวณหาดเจ้าหลาว จังหวัดจันทบุรี ตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555-เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ทิศทางการไหลของน้ำ ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอน ปริมาณตะกอนทั้งผิวน้า และพื้นท้องน้ำถูกศึกษาด้วยเครื่องมือเฉพาะ (current meter and water trap) ผลการศึกษาพบว่า ทิศทางการไหลของกระแสน้ำกับทิศทางการเคลื่อนตัวของตะกอนในฤดูฝนมีแนวโน้มมาจากปากแม่น้ำแขมหนูเป็นส่วนมาก ส่วนในฤดูหนาวนั้นทิศทางการไหลของกระแสน้ำกับทิศทางการเคลื่อนตัวของตะกอนนั้นเป็นแบบสม่ำเสมอเนื่องจากไม่ได้รับผลกระทบของคลื่นลมและกระแสน้ำ สำหรับในเดือนสิงหาคม มีนาคม และมิถุนายน พบว่าตะกอนผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำมีความสัมพันธ์กัน เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมในฤดูฝนซึ่งจะพัดพาตะกอนจากชายฝั่งลงทะเล ผลการศึกษาพบว่าตะกอนบริเวณอ่าวคุ้งกระเบนมีขนาดเล็กกว่า และมีปริมาณน้อยกว่าตะกอนบริเวณปากแม่น้ำแขมหนู ผลการสำรวจแนวปะการังทั้ง 3 แนว พบว่า ในแนวสำรวจที่ใกล้กับอ่าวคุ้งกระเบน และหาดเจ้าหลาวมีความหลากหลายของปะการังมากกว่าในบริเวณปากน้ำแขมหนู สำหรับปริมาณฟอสเฟต และซิลิเกตพบได้มากในฤดูฝนมากกว่าฤดูแล้ง ในขณะที่ตะกอนแขวนลอย ความเค็ม และอุณหภูมิพบได้ปริมาณมากในฤดูร้อนมากกว่าฤดูฝน ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างการนำไฟฟ้าและค่าตะกอนแขวนลอยค่าเท่ากับ 0.38 ค่าแอมโมเนียและไนเตรท มีความสัมพันธ์กันแบบแปรผันตรง โดยมีค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.62 th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี th_TH
dc.subject ปะการัง th_TH
dc.subject ฟลักซ์ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.subject อนินทรีย์ th_TH
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอย ฟลักซ์ของธาตุอาหารอนินทรีย์ต่อความหลากหลายทางชีวภาพของปะการังบริเวณหาดเจ้าหลาว จังหวัดจันทบุรี ปีที่ 2 th_TH
dc.title.alternative Relationship between total suspended solid and flux of inorganic nutrients on coral biodiversity, Chao-Lao beach area, Chanthaburi Province Year 2 en
dc.type Research th_TH
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative Directions of water flow and suspended solid on biodiversity of coral at Chao Lao Beach, Chanthaburi Province were study during August 2012 - November 2013. The direction of water flow, the direction of sediment movement and quantity of sediment (surface and bottom) around area were collected by current meter and sediment trap. The results found that the direction of water flow and sediment movement had been came from the Kham-Nu Estuary in the rainy season. In the winter, the direction of water flow and sediment movement had been not affected on wind, waves and water flow. On August, March and June, amounts of surface and bottom sediment had been related because the sediment had been carried from the shoreline into the sea by the monsoon. Result found that sediment from Kung Kraben Bay was smaller and less quantity than the sediment from Kham-Nu Estuary. Coral located near Kung Krabaen Bay and Chao Lao Beach had higher biodiversity that those located near Kham-Nu Estuary. Phosphate and silicate in rainy season were greater amount than those in summer. While, suspension solid, salinity and temperature in summer were higher concentration than those in rainy season. Correlation index between conductivity and total suspension solid was 0.38. Concentration of ammonia and nitrate had linear relationship equal 0.38 of correlation index en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account