DSpace Repository

การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งของอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล

Show simple item record

dc.contributor.author อาภัสรา แสงนาค th
dc.contributor.author กุลยา ลิ้มรุ่งเรืองรัตน์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:57Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:57Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/196
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการย่อยสลายโปรตีนในน้ำต้มปูและเปลือกปูด้วยเอนไซม์แปรปริมาณสารละลายเอนไซม์ Neutrase (0.5 uiit/g) เจือจางอัตราส่วน 1:9 โดยปริมาตร เป็น 1,2 และ 3% โดยปริมาตร และอุณหภูมิที่ใช้แปรเป็น 40, 50 และ 60 C ต่อมาศึกษาผลของ pH และเวลาในการย่อยสลายโปรตีน แปร pH เป็น 5.5,6.5 และ 7.5 แปรเวลาเป็น30 และ 60 นาที พบว่า เมื่อย่อยสลายโปรตีนในน้ำต้มปูและเปลือกปูด้วยสารละลายเอนไซม์ 2% ที่อุณหภูมิ 60 C pH 6.5 เวลา 60 นาที ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีปริมาณอแลฟาอะมิโนไนโตรเจน 2.694 และ 1.342 g/L ตามลำดับ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการย่อยสลายโปรตีนในน้ำต้มปูและเปลือกปูด้วยกรดเกลือ แปรปริมาณกรด HCI 1M เป็น 2,4 และ 6% โดยปริมาตร อุณหภูมิที่ใช้ในการย่อยสลายแปรเป็น 50และ 60 C ต่อมาแปรเวลาที่ใช้ในการย่อยสลายเป็น 1, 2 และ 3 ชั่วโมง พบว่า เมื่อย่อยสลายโปรตีนในน้ำต้มปูและเปลือกปูด้วยกรด HC1 1M 2% และ 4% ตามลำดับ อุณหภูมิ 60 C เวลา 1 และ 2 ชั่วโมง ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีปริมาณแอลฟาอะมิโนไนโตรเจน 1.578 และ 2.0473 g/L ตามลำดับ ศึกษาการทำโปรตีนไฮโดรไลเซทเข้มข้นโดยใช้เครื่อง vacuum rotary evaporator แปรอุณหภูมิเป็น 50 และ 60 C เป็นเวลา 30 นาที พบว่า ที่อุณหภูมิ 60 C ให้ผลิตภัณฑ์ที่มีคะแนนกลิ่นสูงสุด ปริมาณเอนไซม์ไฮโดรไลเซทและแอซิดไฮโดรไลเซทเข้มข้นที่เหมาะสมสำหรับใช้เป็นสารปรุงแต่งกลิ่นรสในข้าวเกรียบคือ 2% โดยน้ำหนัก th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดทุนจากงบประมานแผ่นดิน ปี 2541 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การใช้ประโยชน์จากน้ำต้มปู - - วิจัย th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.subject สารแต่งกลิ่นและรสอาหาร - - วิจัย th_TH
dc.subject อุตสาหกรรมอาหารทะเล - - การทดลอง th_TH
dc.title การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งของอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล th_TH
dc.title.alternative Utilization of seafood processing waste en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2543
dc.description.abstractalternative Factors affecting hydrolysis of crab-precooking water and appendages (legs) of crabs by varying quantity of Neutrase (0.5 unit/g) which was diluted to 1:9 (v/v) at 1, 2 and 3% and temperature 40, 50 and 60 C. Effect of pH and reaction time were studied at pH: 5.5, 6.5, 7.5 and the time: 30 and 60 min. The best quality hydrolysates were obtained when using 2% enzyme solution at pH 6.5, temperature 60 C for 60 min. The &- amino nitrogen of the both products were 2.694 and 1.342g/L, respectively. Appropriate conditions for acid hydrolysis were studied by varying quantity of 1 M HC1 at 2, 4 and 6% temperature at 50 and 60 C and hydrolysing time at 1, 2, and 3 hrs. The best quality hydrolysates were obtained when using 1 M HC1 2 and 4% respectively 60 C for 1 hr and 2 hrs, respectively. The resulting of &- amino nitrogen for the crab-precooking water and the appendages of crabs were 1.578 and 2.0473 g/L, respectively. Evaporation of water from the hydrolysates for 30 min. were carried out in vacuum rotary evaporator at 50 and 60 C. The appropriate temperature was 60 C. Quality of the enzyme and acid hydrolysates as food flavor were used in Thai-snack food. The appropriate quantity of the concentrate hydrolysates for this procuct is 2% en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account