DSpace Repository

การตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมของการก่อโรคและการวิเคราะห์สงศ์วานวิวัฒนาการของ Vibrio parahaemolyticus สายพันธุ์ที่แยกจากหอยนางรมสด

Show simple item record

dc.contributor.author สุดารัตน์ สวนจิตร
dc.contributor.author ณัฏฐวี ชั่งชัย
dc.contributor.author เบญจมาศ โปปัญจมะกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:38Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:38Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1739
dc.description.abstract การศึกษานี้ได้วิเคราะห์คุณลักษณะของแบคทีเรียที่แยกได้จากหอยนางรมสด จากร้านค้าปลีกบริเวณชายฝั่งทะเลอ่างศิลา ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 จำนวน 1,785 ไฮโซเลท เพื่อบ่งชี้ Vibrio parahaemolyticusโดยเฉพาะสายพันธ์ุก่อโรคและสายพันธ์ระบาดทั่ว เมื่อทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีและยืนยันเชื้อด้วยการใช้เทคนิคพีซีอาร์เพิ่มปริมาณยีน tl ซึ่งจำเพาะต่อแบคทีเรียชนิดนี้ สามารถระบุเชื่อที่นำมาศึกษาว่าเป็น V.parahaemolticusจำนวน 1,293 ไฮดซเลท เมื่อนำ V.parahaemolyticusดังกล่าวมาตรวจสอบการมีอยู่ของยีนก่อโรค คือ tdhและ trhพบว่ามี 17 ไฮโซเลท( 1.31 เปอร์เซ็นต์) แสดงผลบวกกับยีน tdh และมี 2 ไฮโซเลท (0.15 เปอร์เซนต์) แสดงผลบวกกับยีน trhโดยไม่พบสายพันธุ์ที่มียีนทั้งสองยีนดังกล่าว เมื่อศึกษาลักษณะทางพันธุ์กรรมที่มีความสัมพันธุ์ที่พบระบาดทั่ว โดยการทำ GS-PCR เพื่อตรวจสอบการมีอยู่ของ toxRS/new sequence รวมทั้งตรวจสอบการมีอยู่ของ ORF8 ของฟาจ f237 พบว่ามี 9 ไฮโซเลท (0.31 เปอร์เซนต์) ที่มีจีโนไทป์เป็น tdh+ GS-PCR+ ORF8+ ซึ่งป็นจีโนไทป์ของสายพันธุ์ระบาดทั่ว O3:K6 และซีโรไทป์อื่นๆ ที่แปรผันมาจาก O3:K6 เมื่อวิเคราะห์ซีโรไทป์ของ V.parahaemolyticusที่มีจีโนไทป์ของสายพันธุ์ระบาดทั่ว ร่วมกับสายพันธุ์อื่น พบว่าเชื้อเหล่านี้มีซีโรไทป์หลากหลาย โดยระบุได้เป็น 7 ซีโรไทป์ ได้แก่ O1:KUT, O4:KUT, O11:K36, O4:K41,O1:K68 และO4:K42 โดยที่ O4:KUT เป็นซีรไทป์ที่พบมากที่สุด(33.3 เปอร์เซนต์) โดยในการศึกษานี้ไม่พบจีโนไทป์ O3:K6 ซึ่งเป็นซีโรไทป์หลักของสายพันธุ์ระบาดทั่วอย่างไรก็ตามพบ V.parahaemolyticus 1 ไฮโซเลท(tdh+ GS-PCR+,ORF8+) มีซีโรไทป์ O1:KUT ซึ่งป็นซีโรไทป์หนึ่งที่พบได้ในสายพันธุ์ระบาดทั่ว ส่วนอีก 6 ซีโรไทป์ตรวจนั้น ถือเป็นการายงานครั้งแรกของอุบัติการณ์ในพื้นภาคตะวันออกของประเทศไทยที่ตรวจพบซีโรไทป์เหล่านี้ใน V.parahaemolyticusซึ่งมีจีโนไทป์สัมพันธ์ระบาดทั่ว ในอีกทางหนึ่ง เมื่อวิเคราะห์ข้อมลูลำดับนิวคลีอไทด์ของยีน 16S rRNAและ atpAของ V.parahaemolyticusเหล่านี้พบว่ามีความคล้ายคลึงกันมาก ซึ่งไม่สามารถนำมาใช้ในการบ่งชี้ความแตกต่างในระดับสายพันธุ์ได้ ผลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าพื้นที่ชายฝั่งชายทะเลแถบตะวันออกของประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของ V.parahaemolyticusสายพันธุ์ก่อโรคทั่วไปและสายพันธุ์ก่อโรคที่มีความสัมพันธ์กับสายพันธุ์ระบาดทั่ว โดยที่หอยนางรมเป็นแหล่งสะสมเชื้อ V.parahaemolyticusที่สำคัญซึ่งเป็นข้อเบ่งชี้ถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นทั้งผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจึงควรมีมาตรการการจัดการที่ดี รวมทั้งการพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายเพื่อใช้ในการตรวจสอบเชิงระบาดวิทยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและลดความเสี่ยงหรืออีนตรายที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของแบคทีเรียชนิดนี้ในอนาคต th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การก่อโรคของวิบริโอ th_TH
dc.subject ความหลากหลายทางพันธุกรรมของวิบริโอ th_TH
dc.subject พาราฮีโมลัยติคัศ th_TH
dc.subject พาราฮีโมลัยติคัส th_TH
dc.subject วิบริโอ วิบริโอ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ th_TH
dc.subject หอยนางรม th_TH
dc.title การตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมของการก่อโรคและการวิเคราะห์สงศ์วานวิวัฒนาการของ Vibrio parahaemolyticus สายพันธุ์ที่แยกจากหอยนางรมสด th_TH
dc.title.alternative Moleclar-based characterization of potential virulent markers and phylogenetic analysis of vibrio parahaemolyticus lsolated from raw oyster en
dc.type Research
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative This study was performed to identity and characterize Vibrio parahaemolyticus amongst isolates obtained from unshelled raw oyster retailed along Ang-Sila coast, Chonburi province, during December 2009-February 2011.Molecular characteristics regarding virulent gene marker and pandemic traits of this bacterium were assessed. Total of 1,785 bacterial isolates were tested and 1,293 isolates were approved to be V.parahaemolyticus based on species-specific gene(tl)-targeted PCR confirmation. Seventeen(1.31%)and (0.15%) isolates carried one of the pathogenic genes, tdh and trh, respectively. However, isolate of V.parahaemolyticus possessing both tdh and trh was not observed. Subsequent characterization demonsted that the nine strains of pathogenic V.parahaemolyticus harbored pandemic-associated characteristics, i.e. tdh, GS-PCR, ORF8+, as found in the pandemic 03:K6 strain and its serovariants. Serological analyses indicated that these strains belonged to seven serovars including 01:KUT, 04:KUT, 011:K36, 04:4K, 08:K41, 01:K68, and 04:K42, of which the 04:KUT was the most dominant serovar in this area (33.3%). Indeed, there was one strain displayed 01:KUTserovar, which is one of recently recognized serovariants of the pandemic 03:K6 clone. Notably, the other six serovars were firstly reported here as V.parahaemolyticusserovars associated with pandemic-specific traits. Nucleotide sequences of 16S rRNA and gene ware adopted to infer the diversity among intraspecies of V. parahaemolyticus originated from oysters in Ang-Sila coast. The analyses showed that such molecular chronometer could not provide certain evolutionary relationships among V. parahaemolyticus strains dye to high similarities of gene sequences. The occurrence of pathogenic as well as pandemic-associated strains of V. parahaemolyticus is sign of health hazard invading invadinginvading the eastern region of Thailand. Raw oyster is not only a major reservoir of virulent V. parahaemolyticus, but it is a vehicle a vehicle of spreading of pandemic strains of this bacterium which could be a potent causative agent of human infection. Taking into consideration, risk assessment and management should be acted promptly for prevention of disease outbreak in this area. Genetic diversity among strains of both organisms should be further verified since this might relate to their epidemiology and could benefit the program of surveillance. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account