DSpace Repository

การวิจัยพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา: กรณีศึกษาโรงเรียนเกาะสีชัง

Show simple item record

dc.contributor.author วิชิต สุรัตน์เรืองชัย th
dc.contributor.author จันทร์พร พรหมมาศ th
dc.contributor.author เพ็ญนภา กุลนภาดล th
dc.contributor.author พงศ์เทพ จิระโร th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:08Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:08Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1509
dc.description.abstract งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียน โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบร่วมมือและเพื่อประเมินคุณภาพภายในหลังผ่านกระบวนการพัฒนายกระดับคุณภาพโดยดำเนินการ 3 ขั้นตอน คือการศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการการพัฒนา ดำเนินการพัฒนาคุณภาพโดยการมีส่วนร่วมจากฝ่ายต่าง ๆ ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อนครูโรงเรียนในเขตพื้นที่ และขั้นตอนที่สามเป็นการประเมินติดตามผล ระยะเวลาตั้งแต่ ธันวาคม 2556-กุมภาพันธ์ 2557 ผลการวิจัยพบว่า การประเมินการพัฒนายกระดับคุณภาพ คะแนนก่อนอบรม หลังอบรม และพัฒนาการในการจัดกิจกรรมพัฒนาครูทุกกิจกรรมทำให้ครูมีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้นทั้ง 3 ครั้ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คะแนน O-net ก่อนและหลังร่วมโครงการระดับ ป 6 มีรายวิชาที่มี อัตราการเพิ่มขึ้นของคะแนน > ขีดจำกัดล่าง สูงสุดได้แก่ รายวิชาสังคมคิดเป็นร้อยละ 26.68 รองลงมาเป็นรายวิชาวิทยาศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 19.70 และรายวิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 11.57 ส่วนรายวิชาอื่น ๆ พบว่ามี อัตราคะแนน > ขีดจำกัดล่าง ต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโครงการ ระดับ ม 3 พบว่า มีรายวิชาที่มี อัตราการเพิ่มขึ้นของคะแนน > ขีดจำกัดล่าง สูงสุดได้แก่ รายวิชาศึกษาคิดเป็นร้อยละ 7.58 รองลงมาเป็น การงานอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 4.08 และรายวิชาสังคม คิดเป็นร้อยละ 1.24 ส่วนรายวิชาอื่น ๆ พบว่ามีอัตราคะแนน > ขีดจำกัดล่าง ต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโครงการ และพิจารณาระดับ ม 6 พบว่ามีรายวิชาที่มี อัตราการเพิ่มขึ้นของคะแนน > ขีดจำกัดล่าง สูงสุดได้แก่ รายวิชาภาษาไทย รายวิชาคณิตศาสตร์ และรายวิชาการงานอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 17.46 รองลงมาเป็น รายวิชาวิทยาศาสตร์ และรายวิชาสังคม คิดเป็นร้อยละ 6.75 ส่วนรายวิชาอื่น ๆ พบว่ามีอัตราคะแนน > ขีดจำกัดล่าง ต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโครงการ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาปีการศึกษา 2555 โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับคุณภาพดีมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นเป็น 4.66 th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับงบประมาณจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2556-2557 ประเภททุน ความต้องการของคณะศึกษาศาสตร์
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คุณภาพการศึกษา th_TH
dc.subject คุณภาพโรงเรียน th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การวิจัยพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา: กรณีศึกษาโรงเรียนเกาะสีชัง th_TH
dc.title.alternative The research and development to improve the quality education: Koh Sichang school en
dc.type Research
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative This research aims: To improve the school by using research cooperation. To assess the quality after the development process uplifting. Perform three steps: A study of the current and evolving needs. The quality of the participation of administrators, teachers, parents, friends, teachers, students and schools in the area. Period from December 2556-February 2557. The results showed that: The score before training, after training and development activities in the development activities,the teachers, all teachers knowledge increased the statistical significance level of 0.01. O-net score before and after the project Pratom 6 courses available. The rate of increase of the score > lower limit maximum social subjects including 26.68 percent. A minor course of science, representing 19.70 percent. Courses in English, representing 11.57 percent. Mathayom 3 courses that are available. Te rate of increase of the score > lower limit highest. Education courses equal to 7.58. Career minor 4.08 percent. And social subjects was 1.24 percent. Mathayom 6 found that the subjects are The rate of increase of the score> lower limit comparisons, Thai Language courses, Mathematics and career courses 17.46 percent. The course of Science and social 6.75 percent. The quality standards for the study of education year 2012 school assessment results of the internal quality basic education good level, with an average of 3.79. In the education year 2013 assessed the level of basic education quality level as very good, with an average rise to 4.66. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account