DSpace Repository

ประวัติศาสตร์สังคมภูมิปัญญาท้องถิ่นอ่างศิลา

Show simple item record

dc.contributor.author ภารดี มหาขันธ์
dc.contributor.author นันท์ชญา มหาขันธ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:33Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:33Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1403
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์สังคมท้องถิ่นอ่างศิลา 2) ศึกษาผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ภูมิปัญญาที่อ่างศิลา และ3) จัดการความรู้ดังกล่าวให้เป็นระบบ อยู่ในสภาพพร้อมใช้และ เข้าถึงได้ง่าย วิธีการวิจัยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ผลการวิจัย พบว่า อ่างศิลาเริ่มปรากฏชื่อ และมีความสำคัญขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และทวีความสำคัญขึ้นหลังจากการทำสนธิสัญญาชุดเบาริ่ง กับประเทศอังกฤษ และประเทศอื่นๆ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2498 เป็นต้นมา อ่างศิลาคึกคักไปด้วยเรือสินค้าจากนานาประเทศ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดให้กลางสะพานหินยื่นออกไปในทะเลจนพ้นเขตศิลาใต้น้ำ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่พ่อค้าวาณิช นอกจากนี้เสนาบดีกลาโหม และเจ้าคุณกรมท่ายังสร้าง “อาศรัยสถาน” เพื่อเป็นที่พักตากอากาศและพักฟื้นแก่ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ 2 หลัง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสนาบดีกรมท่าได้มาสร้างค่ายหลวงที่อ่างศิลาเพื่อเป็นที่ประทับแรมในเวลาที่เสด็จประพาสหัวเมืองชายทะเลตะวันออกในปีพ.ศ. 2419 โปรดเกล้าให้ยกฐานะอ่างศิลาขึ้นเป็นหัวเมืองปีพ.ศ. 2441 เปลี่ยนฐานะเป็นอำเภอตามข้อบังคับลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ. 117 และเป็นตำบลในปีพ.ศ. 2443 ปีพ.ศ. 2495 ได้รับการจัดตั้งเป็นสุขาภิบาลอ่างศิลา พ.ศ. 2542 เปลี่ยนฐานะเป็นเทศบาลตำบล และเป็นเทศบาลเมืองอ่างศิลาในปีพ.ศ. 2554 ส่วนผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ภูมิปัญญาที่สำคัญของอ่างศิลาคือ “ผ้าทออ่างศิลา” และ “ครกหินอ่างศิลา” th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสาขาวิชาไทยศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2556 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ประวัติศาสตร์สังคม th_TH
dc.subject ภูมิปัญญาท้องถิ่น th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.subject อ่างศิลา th_TH
dc.title ประวัติศาสตร์สังคมภูมิปัญญาท้องถิ่นอ่างศิลา th_TH
dc.title.alternative Social history and local wisdom in Ang-sila. en
dc.type Research
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative This research aims firstly to study historical and social development of Ang-Sila; secondly to examine the unique products showing the local wisdom in Ang-Sila; and thirdly to systematize the knowledge about historical and social development and unique products showing the local wisdom in Ang-Sila. Historical method is used for this research. The findings show that the area called Ang-Sila was firstly known in the reign of King Rama III and it became more important after Bowring Treaty had been signed in 1955 when the area was crowded with commercial ships from various countries. Later, to facilitate the maritime merchants, King Rama IV had an order to build a stone jetty extending beyond the underwater stone pillars which designated the land. In addition, Chancellor of Defense and Chief of Harbor Department ordered to build two-building resort for either Thai or foreigners. In the reign of King Rama V, Chief of Harbor Department ordered to build a royal camp n Ang-Sila for the king when he had a royal visit to the coastal provinces in the eastern part of the country. In 1876, Ang-Sila was promoted to become a city and then in 1898 its status was changed to be a district according to Rs 177 Regulations for Governing the Districts. In 1900, Ang-Sila became a sub-district and it was established to be Ang-Sila Sanitary District. Again in 1999, it became a sub-district municipality. In 2011, it was again changed and has become Muang Ang-Sila Municipality since then. The unique product showing local wisdom in Ang-Sila are “Ang-Sila woveb cloth” and Ang-Sila stone mortar” en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account