DSpace Repository

การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลสวยงาม (กุ้งการ์ตูน, Hymenocerapicta) เพื่อการอนุรักษ์และการผลิตเชิงพาณิชย์

Show simple item record

dc.contributor.author วรเทพ มุธุวรรณ th
dc.contributor.author เสาวภา สวัสดิ์พีระ th
dc.contributor.author จารุนันท์ ประทุมยศ th
dc.contributor.author ณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน th
dc.contributor.author วิรชา เจริญดี th
dc.contributor.author ธรรมศักดิ์ ถาพรพันธุ์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:28Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:28Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1349
dc.description.abstract แผนงานวิจัยการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลสวยงาม (กุ้งการ์ตูน, Hymenocera picta) เพื่อการอนุรักษ์และการผลิตเชิงพาณิชย์ เป็นแผนงานวิจัยที่มีความสอคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ แผนงานวิจัยที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับประมงและการเพาะเลี้ยง ชายฝั่งเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและนำไปสู่การแข่งขันและการพึ่งพาตนเอง มีวัตถุประสงค์หลักของแผนงานเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งการ์ตูนสำหรับการผลิตเชิงพาณิชย์ มีระยะเวลา การวิจัย 3 ปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2555 แผนงานวิจัยประกอบไปด้วย โครงการวิจัย 9 โครงการ ภายใต้ 5 แผนงานวิจัยย่อย ดังนี้คือ โครงการวิจัยที่ 1 การเจริญเติบโต การเจริญพันธุ์ และพฤติกรรมการสืบพันธุ์ของกุ้งการ์ตูน โครงการวิจัยที่ 2 การศึกษาพัฒนาการของคัพภะและของกุ้งการ์ตูนวัยอ่อน โครงการวิจัยที่ 3 ผลของชนิดของอาหารและความถี่ในการให้อาหารต่อการเจริญเติบโตการสิบพันธุ์ และการผลิตตัวอ่อนของกุ้งการ์ตูน โครงการวิจัยที่ 4 การเจริญเติบโต และผลของการเสียรยางค์ ต่อการเจริญเติบโต และการงอกใหม่ของรยางค์ของปลาดาวแดงที่เป็นอาหารของกุ้งการ์ตูน โครงการวิจัยที่ 5 ผลของการเสริมกรดไขมันและไวตามินซีลงในแพลงก์ตอนสัตว์ต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ของกุ้งการ์ตูนวัยอ่อน โครงการวิจัยที่ 6 ผลของการอนุบาลลูกกุ้งการ์ตูนวัยอ่อนด้วย โคพีพอดต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ของลูกกุ้งการ์ตูนวัยอ่อน โครงการที่ 7 พัฒนาการการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของลูกกุ้งการ์ตูนวัยอ่อน ที่อนุบาลด้วยระบบ การเลี้ยงที่แตกต่างกัน โครงการวิจัยที่ 8 ผลของอาหารต่อการเจริญเติบโต การรอดตาย การเจริญพันธุ์ของกุ้งการ์ตูน ที่เกิดจากการเพาะเลี้ยง และโครงการวิจัยที่ 9 ธุรกิจการค้าสัตว์ทะเลสวยงามในกลุ่มกุ้ง กั้ง ปู ของประเทศไทย งบประมาณที่ได้รับรวมทั้งสิ้น 8,062,800 บาท จากการประเมินความสำเร็จและความคุ้มค่าด้านงบประมาณของแผนงานวิจัย แสดงให้เห็นว่าแผนงานวิจัยการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลสวยงามนี้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ทุกประการ ดังนี้คือ 1. ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งการ์ตูน คณะผู้วิจัยสามารถวิจัยและพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงกุ้งการ์ตูนได้จนประสบผลสำเร็จ สามารถนำมาจัดทำเป็นวิธีปฏิบัติ สำหรับใช้ในการเผยแพร่สู่ผู้สนใจได้ 2. คณะผู้วิจัยสามารถนำเอาองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยไปเผยแพร่สู่ผู้สนใจ ด้วยการฝึกอบรม จำนวน 3 ครั้ง ผู้เข้ารับการอบรมรวมทั้งสิ้น 105 คน จากเป้าหมายที่กำหนด ไว้ 80 คน จนผู้เข้ารับการอบรม 42% (43 ราย) พร้อมที่จะนำความรู้ที่ได้จากแผนงานวิจัยนี้ไปทำการเพาะเลี้ยงกุ้งการ์ตูนต่อไป 3. เมื่อประเมินความคุ้มค่าด้านงบประมาณของแผนงานวิจัยแล้ว พบว่าสูงกว่าเป้าหมายที่ กำหนดไว้ คือ 43 รายจากเป้าหมาย 4 ราย จากสมมติฐานที่ตั้งไว้คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจเท่ากับ 93,600,000 ถึง 154,800,000 บาทต่อปี จากงบประมาณที่ได้รับเท่ากับ 8,062,800 บาท th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) แผนงานวิจัยต่อเนื่อง 3 ปี ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. พ.ศ. 2553-2555 จากทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject กุ้ง - - การเลี้ยง th_TH
dc.subject กุ้งการ์ตูน th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลสวยงาม (กุ้งการ์ตูน, Hymenocerapicta) เพื่อการอนุรักษ์และการผลิตเชิงพาณิชย์ th_TH
dc.title.alternative Development of propagation and culture techniques of the Harlequin shrimp (Hymenocera picta) for conservation and commercial production en
dc.type Research th_TH
dc.year 2556
dc.description.abstractalternative Development of propagation and culture techniques of the Harlequin shrimp (Hymenocera picta) for conservation and commercial production research program was funded during the fiscal year 2553-2555. The research program is categorized under the third research program of the Thailand National Research Policy and Strategy, Research and development on fisheries and coastal aquaculture to add value and contribute to the competitiveness and self-reliance. The main objective of the research program is to development mass propagation and culture techniques of the Harlequin shrimp for commercial production and for conservation purposes. The research program comprise of nine projects which are under 5 research subprograms which the title of the projects are, Growth, maturation and mating behavior of the Harlequin shrimp (Hymenocera picta), Embryonic and larval development of the Harlequin shrimp (Hymenicera picta), Effects of feeding different kinds of food and frequency of feeding on growth, reproduction and larval production of the Harlequin shrimp (Hymenocera picta), Growth of the starfish and regeneration rates of the starfish after losing their limb, Effects of fatty acid and vitamin Cenrichment in zooplankton on growth, development and survival rate of the Harlequin shrimp larvae (Hymenocera picta), Effects of copepod as larval food on growth, development and survival rate of the Harlequin shrimp larvae (Hymenocera picta), Development, growth and survival rate of the Harlequin shrimp’s larvae (Hymenocera picta) rearing in different rearing system, Effect of foods on growth, survival and maturation of the captive bred Harlequin shrimp (Hymenocera picta) and Marine ornamental decapods trade in Thailand. The total amount of research funded during three consecutive years is 8,062,800 baht. Assessment of the research program has proved that the Development of propagation and culture techniques of the Harlequin shrimp (Hymenocera picta) for conservation and commercial production research program achieved all the objectives as follows: 1. Method of mass culture of the Harlequin shrimp has been develop and was disseminated and transferred to those interested. 2. 2. The developed technology was used for training to 105 trainees which the number of the trainee is more than the target number (80 people). Forty two percents of the trainee (43 trainees) will use this technology in 60 months and no more than 1 year to propagate the shrimp. 3. 3. It was estimated that an economic value of production of the Harlequin shrimp from this program will be 93,600,000-154,800,000 baht per year compares to 8,062,800 baht received during the three years of research program. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account