DSpace Repository

รูปแบบการพัฒนาชุมชนและครอบครัวต้นแบบเพื่อดูแลผู้สูงอายุ (ปีที่ 1)

Show simple item record

dc.contributor.author ยุวดี รอดจากภัย th
dc.contributor.author กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ th
dc.contributor.author ไพบูลย์ พงษ์แสงพันธ์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:21Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:21Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1231
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ความต้องการ การรับรู้ความสามารถตนเองในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุโดยใช้แนวคิด (Community based service) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สถานการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของผู้สูงอายุเรียงลำดับ 5 ลำดับ ดังนี้ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขข้อ โรคกระดูกเสื่อม และโรคกระเพาะอาหาร 2. ความต้องการของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมีความต้องการความรักจากบุคคลใกล้ชิด ต้องการกำลังใจจากญาติ พี่น้อง และบุคคลใกล้ชิด และต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีดูแลผู้สูงอายุ 3. การรับรู้ความสามารถตนเองในด้านการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุอยู่ในระดับดีเป็นส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมในการดูแลตนเองในด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การลดความเครียด การรับประทานยา และการพักผ่อนให้เพียงพอ 4. รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ มีดังนี้ 4.1 การดูแลเมื่อเจ็บป่วยจะไปพบแพทย์เพื่อรักษา 4.2 การให้คำปรึกษา ญาติใกล้ชิด เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล เป็นที่ปรึกษาและที่พึ่งของผู้สูงอายุ 4.3 การแสวงหาความรู้ ผู้สูงอายุต้องการความรู้ด้านการดูแลตนเอง วิธีการดูแลสุขภาพสำหรับความช่วยเหลือต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน 4.4 การสนับสนุนให้กำลังใจ และสัมพันธภาพกับคนในครอบครัวดีและมีกำลังใจ 4.5 การเผชิญความเครียด และช่วยผ่อนคลายความเครียด ผู้สูงอายุจะเครียดในเรื่องการเจ็บป่วย ลูก สามี และการเงิน 4.6 การปฏิบัติการดูแลรักษาสุขภาพ มีวิธีการดังนี้ ฟังธรรม สวดมนต์ ปรับชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอเพียง The purpose of this study was to explore evidences, needs of older persons, self-efficacy and model for care by using the concept community based service. The participants of this study were 400 older persons. Data collect consisted of interviews of older persons. Content analysis was performed to analyze the qualitative data. Descriptive statistics of percentage, mean, and standard deviation were performed. The quantitative data was analyze by content analysis. 1. Top five of chronic disease in older persons were hypertension, diabetes mellitus, Arthritis, osteoarthritis and peptic ulcer 2. Needs of older persons, they had social support from their family, health care need and incom 3. Self-efficacy at good level, Self-care behaviors at good level 4. The caring model for older persons is as follows: 4.1 Seeking medical care to treat illness. 4.2 Providing consultation for older persons. 4.3 Seeking treatment and help. 4.4 Providing family suppprt, specifically emotional and social support. 4.5 Coping with stress and achieving relaxation. 4.6 Providing care for older persons including fair hearing, Chant and sufficiently fine living. th_TH
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ งบประมาณแผ่นดิน ปี พ.ศ. 2555 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การพัฒนาชุมชน th_TH
dc.subject ครอบครัวต้นแบบ th_TH
dc.subject ผู้สูงอายุ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title รูปแบบการพัฒนาชุมชนและครอบครัวต้นแบบเพื่อดูแลผู้สูงอายุ (ปีที่ 1) th_TH
dc.title.alternative Model of communitydevelopment and family to case for the elderly master integrated (Phase 1) en
dc.type Research
dc.year 2555


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account