DSpace Repository

การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เพื่อการส่งออกตลาดเอเชีย

Show simple item record

dc.contributor.author เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:01:12Z
dc.date.available 2019-03-25T09:01:12Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1033
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายหลัก คือ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นในผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เพื่อพิ่มช่องทางการขยายออกสู่สากล โดยมีเป้าหมาย คือตลาดเอเชีย และเพื่อออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะ และเป็นที่ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ผลการวิจัย จากผลการวิจัย ทดลองออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี พบว่าด้านการนำภูมิปัญญาจักสานมาประยุกต์ออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ในประเภทต่างๆ มีความเป็นไปได้ในการพัฒนาต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ เพื่อการส่งออกตลาดเอเชีย ช่างจักสานในชุมชนมีทักษะในการจักสานสูง มีความสามารถสานให้รายละเอียดของลวดลาย ขนาดของเส้นตอกที่จักขนาดเล็กพิเศษ จึงสามารถสานให้มีความโค้ง ความเว้า ห่อ หรือหุ้มวัสดุอื่นได้เป็นอย่างดี ซึ่งการสานลวดลายละเอียดนี้สามารถลดปริมาณการใช้เส้นตอกได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้เกิดการใช้เส้นตอกอย่างคุ้มค่า ด้านรูปภาพรวมภายนอกของผลิตภัณฑ์ต้นแบบ สามารถแสดงความเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีได้อย่างเหมาะสม และหลังผลิตผลิตภัณฑ์ต้นแบบเสร็จ ควรมีการเคลือบผิวผลิตภัณฑ์ด้วยสารเคลือบผิวประเภทน้ำมันวานิช เพื่อให้เกิดความสวบงาม ป้องกันแมลง และสามารถยืดอายุการใช้งานให้ยาวนานยิ่งขึ้น ด้านการกระจายสินค้าสู่ตลาดเอเชีย ผู้วิจัยได้ออกแบบ การซื้อ การขชาย การติดต่อ และการจัดส่งสินค้า ผ่านระบบการตลาดแบบ E-Commerce เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดสู่กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้เป็นอย่างดี th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากเงินงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การออกแบบผลิตภัณฑ์ th_TH
dc.subject ผลิตภัณฑ์จักสาน th_TH
dc.title การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จักสาน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เพื่อการส่งออกตลาดเอเชีย th_TH
dc.title.alternative Design and development of Phanat Nikhom basketry, Chonburi for ASIA market en
dc.type Research
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative The main aim of this academic research is to be able to magnify the value of local resources and basketry folk wisdom from Phanat nikhom, Chon buri Province in order to extend distribution channels out there to the international market, create a unique identity producta and also suite to what target audience wants. The local wisdom of basketry to come to applied design is the products in many kind, there is the possibility in the development to commercial, for market Asia exporting, a technician weaves in the community has the skill in basket, there is can weave very meticulousness of the design, the size of thin bamboo-stripes heel that small-sized special, then can weave have the curvature, the concave, wrap, or cover other inventory well, which design weaving is circumspect this can decrease using hell thin bamboo-stripes quantity well, cause using heel the thin bamboo-stripes worthwhilely, from the original products can show the be identity of Phanat nikhom the Chon Buri has appropriately, and after products original finished is supposed to surface products coating with a substance coat kind surface, vanish oil painting for the beauty and protect an insect and can extend the usability gives increasingly product will be long life. In terms of distribution channel for these products to Asia market, the researcher has designed the selling, the purchasing, and the delivering through the system of E- Commerce in order to create an easily way for the products to be opened up to the more international market audiences. In addition, if there are anyone who interesting on this project, they can also take this up further to next level in more commercial way also. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account