DSpace Repository

ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกร่วมกับการฝึกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบแรงต้านที่มีต่อความเร็วและสมรรถภาพเชิงแอนแอโรบิก

Show simple item record

dc.contributor.advisor เสกสรรค์ ทองคำบรรจง
dc.contributor.advisor สมพร ส่งตระกูล
dc.contributor.advisor วิรัตน์ สนธิ์จันทร์
dc.contributor.author เจริญสุข อ่าวอุดมพันธุ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การออกกำลังและการกีฬา
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:51:08Z
dc.date.available 2023-09-18T07:51:08Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10060
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกพลัยโอเมตริกร่วมกับการฝึกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบแรงต้านที่มีต่อความเร็ว และสมรรถภาพเชิงแอนแอโรบิกระหว่างกลุ่ม และภายในกลุ่มก่อนฝึกและหลังฝึกกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเพศชายของโรงเรียนพรสวรรค์กีฬา-กายกรรมจากหลายชนิดกีฬา อายุเฉลี่ย 18.44 ปี จำนวน 26 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 13 คน คือ กลุ่มทดลองฝึกพลัยโอเมตริกร่วมกับการฝึกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบแรงต้าน และฝึกด้วยโปรแกรมปกติและกลุ่มควบคุมฝึกด้วยโปรแกรมปกติของแต่ละชนิดกีฬา ทำการฝึก 2 วันต่อสัปดาห์ ทั้งหมด 8 สัปดาห์ ทดสอบความเร็วในการวิ่ง 40 หลาและทดสอบสมรรถภาพเชิงแอนแอโรบิก ด้วยแบบทดสอบรันนิ่ง เบสท์แอนแอโรบิกสปริ๊นท์นำผลทดสอบที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติพื้นฐาน วิเคราะห์แบบที (t) ที่กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน (Independent sample t-test) และเปรียบเทียบความแตกต่างแบบรายคู่รูปแบบการวัดซ้ำมิติเดียว (One-way repeated measure) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 จากการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม พบว่า ภายหลังการฝึก 8 สัปดาห์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของความเร็ว 4.92 วินาทีเร็วขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ย 5.11 วินาที ส่วนค่าเฉลี่ยของพลังสูงสุดเชิงแอนแอโรบิก และค่าสมรรถนะในการยืนระยะเชิงแอนแอโรบิก โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย 483.34 วัตต์ และ 407.81 วัตต์เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ย 419.31 วัตต์ และ 362.03 วัตต์ ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม พบว่า ความเร็วแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่า (p = 0.001; Partial n2 = 0.742) และ (p = 0.040; Partial n2 = 0.443) ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ค่าพลังสูงสุดเชิงแอนแอโรบิก ไม่แตกต่างกัน แต่ค่าสมรรถนะในการยืนระยะเชิงแอนแอโรบิกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เฉพาะของกลุ่มทดลอง โดยมีค่า (p = 0.002, Partial n2 = 0.692) จากข้อมูลที่ปรากฏ จึงสามารถสรุปได้ว่า วิธีการฝึกพลัยโอเมตริกร่วมกับการฝึกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบแรงต้านสามารถพัฒนาความเร็ว และ สมรรถภาพเชิงแอนแอโรบิกให้เพิ่มมากขึ้นได้
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์การออกกำลังและการกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายและการกีฬา
dc.subject การวิ่ง -- การฝึก
dc.subject พลัยโอเมตริก (การฝึกกำลัง)
dc.title ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกร่วมกับการฝึกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบแรงต้านที่มีต่อความเร็วและสมรรถภาพเชิงแอนแอโรบิก
dc.title.alternative Effects of plyometric trining combined with resisted sprint trining on speed nd nerobic performnce
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objective of this research was to determine the effects of Plyometric training combined resisted sprint training on speed and anaerobic performance between groups and within the same group before and after the training. The participants were 26 male students from various kinds of sports with average age at 18.44 years old who were studying at sport school in Lao P.D.R. The participants were divided in 2 groups: Experimental group (Exp) and Control group (Cont), each group consists of 13 students. The Exp group was trained by Plyometric training combined with resisted sprint and a regular training program twice a week, continuously for total 8 weeks, while the Cont group was practiced only with a regular training program in the same period. The speed measurement was done by 40 yards Sprint Test and the anaerobic performance was done by Running-Based Anaerobic Sprint Test (RAST). The data was analyzed by using basic Statistics with Independent sample t-test, and was compared in pair by using One-way repeated measure between 2 groups. The significance level used was at .05. The results of the analysis between the Exp groupand the Cont groupafter 8 weeks training revealed that there was a significant difference (p < 0.5); the average speed of the Exp group was measured at 4.92 seconds faster than the Cont group, whose speed was at 5.11 seconds. Anaerobic Power and Anaerobic Capacity of the Exp group were measured at 483.34 watts and 407.81 watts, increasing more than the Contgroupat 419.31 watts and 362.03 watts respectively with statistical significance (p<.05). The analysis of the variance with repeated measurement within each group of the Exp groupand the Cont group showed the speed difference, with statistical significance (p<.05), at (p-value = 0.001; Partial n2 = 0.742), and (p-value = 0.040; Partial n2 = 0.443) respectively. However, there was no statistically significant difference in Anerobic power, but there was statistically significant difference on Anaerobic capacity only in the Exp group, at (p-value = 0.002; Partial n2=0.692). This research study concluded that the program of Plyometric Training Combined with Resisted Sprint Training could improve Speed and Anaerobic Performance.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account