กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9794
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรจฤดี โชติกาวินทร
dc.contributor.advisorวันดี นิลสำราญจิต
dc.contributor.authorศิร ผลิเจริญสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:15:44Z
dc.date.available2023-09-18T07:15:44Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9794
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และสร้างสมการทำนายด้วย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อายุงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อายุงานในตำแหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สถานภาพการทำงาน ความรู้ ทัศนคติ และการสนับสุนทางสังคมกับการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในเขตพื้นที่ภาคกลาง จำนวน 315 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ปัจจัยการทำนายด้วยสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่วนใหญ่เป็นหญิง ร้อยละ 96.2 อายุเฉลี่ยอยู่ที่ 39.8 ปี มีสถานภาพสมรสกับโสด ใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 47.9 และ 44.2 ตามลำดับ ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 74.6 อายุงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เฉลี่ย 11.6 ปี อายุงานในตำแหน่งหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเฉลี่ย 7.1 ปี ร้อยละ 40.6 เป็นข้าราชการขององค์การปกครองส่วท้องถิ่น ส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในระดับปานกลางและมากใกล้เคียงกัน ร้อยละ 40.9 และ 39.4 ตามลำดับ (X = 11.1, SD = 2.7) มีทัศนคติอยู่ในระดับดีมากร้อยละ 96.2 (X = 43.7, SD = 3.8) ได้รับการสนับสนุนทางสังคมในระดับมาก ร้อยละ 86.0 (X = 8.9, SD = 1.7) และมีการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับดีมาก ร้อยละ 97.5 (X = 17.4, SD = 2.0) โดยความรู้ ทัศนคติ การสนับสนุนทางสังคม และเพศ เป็นปัจจัยที่สามารถร่วมกันทำนายการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ร้อยละ 56.3 (p < 0.001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวก ดังสมการ Z’ Do = 0.644 Z’ KN + 0.153 Z’ AT + 0.125 Z’ SS + 0.106 Z’ SEX
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
dc.subjectสิ่งแวดล้อม -- การจัดการ
dc.subjectศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
dc.subjectศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก -- การบริหาร
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตพื้นที่ภาคกลาง
dc.title.alternativeFctors ffecting the environmentl performnce of chief of child development centers in the centrl region of Thilnd
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this cross-sectional descriptive research were to examine relationship and construct a predictive equation of the environmental performance of chief of child development centers by gender, age, marital status, education level, working year in child development center, acting year as chief of the child development center, working status, knowledge, attitude, and social support. Samples of the study comprised of 315 chiefs of child development centers in central region of Thailand. The proportional stratify random sampling was used to select the samples. Data were collected using a self-administered questionnaire and were analyzed by descriptive statistics and stepwise multiple regression. Results of the study found that 96.2 percent of the chiefs of child development centers were female; their average age was 39.8 years; 47.9 and 44.2 percent of them were married and single respectively; 74.6 percent of them finished bachelor degree; mean of working year in the child development centers was 11.6 years; mean of acting year as chief of the child development centers was 7.1 years; 40.6 percent of the chiefs had working status as the government officials of local administrative organizations; they had knowledge about environmental performance at the moderate and the high level, 40.9 and 39.4 respectively (X = 11.1, SD = 27); their attitude toward the performance was at the high level, 96.2 percent (X = 43.7, SD = 3.8); they received social support at the high level, 86.0 percent (X = 8.9, SD = 1.7); and they had the high level of the environmental performance, 97.5 percent. (X = 17.4, SD = 2.0). It was also found that the knowledge, attitude, social support, and gender had positively related to the environmental performance of the chief of child development centers and 56.3 percent of the practices variation could be significantly predicted by the four predictors (p<0.001). The standard prediction equation was as follow: Z’ Do = 0.644 Z’ KN + 0.153 Z’ AT + 0.125 Z’ SS + 0.106 Z’ SEX
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตร์
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
56920313.pdf10.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น