กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9706
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ
dc.contributor.advisorพรภัทร อินทรวรพัฒน์
dc.contributor.authorวิลัยวรรณ รุจิตร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-09-18T07:10:29Z
dc.date.available2023-09-18T07:10:29Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9706
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การ ความพึงพอใจในงาน คุณภาพชีวิตในการทำงาน และความผูกพันต่อองค์การ และเพื่อตรวจสอบโมเดล ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ประเทศไทย จำนวน 562 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์องค์ประกอบ และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีการรับรู้บรรยากาศองค์การ ความพึงพอใจในงาน ความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และคุณภาพชีวิตในการทำงานอยู่ในระดับดี 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบพบว่า บรรยากาศองค์การมี 5 องค์ประกอบ ความพึงพอใจในงาน มี 2 องค์ประกอบ คุณภาพชีวิตในการทำงานมี 5 องค์ประกอบ และความผูกพันต่อองค์การ มี 3 องค์ประกอบ และ 3) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลพบว่า แบบจำลองสมการ โครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี ( χ 2 / df = 1.53, RMSEA = .03, RMR = .03, GFI = .90, CFI = .97, IFI = .97 และ TLI = .97) โดยพบว่าคุณภาพชีวิตในการทำงาน มีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การ และความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานผ่านคุณภาพชีวิตในการทำงาน นอกจากนี้งานวิจัยชิ้นนี้มีข้อค้นพบ นอกเหนือจากสมมติฐานการวิจัยคือ บรรยากาศองค์การมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานผ่านความพึงพอใจในงาน และผ่านคุณภาพชีวิตในการทำงาน ทั้งนี้ปัจจัยเชิงสาเหตุในโมเดล สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความผูกพันต่อองค์การของพนักงานได้ร้อยละ78 ( R 2 = .78 )
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subjectพนักงานบริษัท
dc.titleปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ประเทศไทย
dc.title.alternativeCusl fctors influencing to orgniztionl commitment of employee in the utomotive nd uto prts industries: cse study of mt city industril estte thilnd
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study levels and components of organizational climate, job satisfaction, quality of work life and organizational commitment and a causal model of factors influencing organizational commitment. A total of 562 employees in the automotive and auto parts industries of Amata City industrial estate Thailand was the sample of this study. The instrument used to collect the data was the questionnaire. The data was analyzed by descriptive statistics, correlation coefficient, factor analysis and structural equation modeling analysis. The research findings were 1) The employees showed a high level of organizational climate, job satisfaction, organizational commitment and quality of work life. 2) The result of factor analysis findings was organizational climate consisting of 5 components; job satisfaction consisting of 2 components; quality of work life consisting of 5 components and organizational commitment consisting of 3 components. 3) The research results indicated that the model was consistent with the empirical data at a good level (χ 2 / df = 1.53, RMSEA = .03, RMR =.03, GFI = .90, CFI = .97, IFI = .97, TLI = .97). The results findings were quality of work life had direct effect on organizational commitment and job satisfaction had indirect effect on organizational commitment through quality of work life. Moreover, this research found that the organizational climate had indirect effect on organizational commitment through job satisfaction and through quality of work life. Nevertheless, the combined causal factors in the model could account for 78 percent of the variance of organizational commitment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59930083.pdf8.53 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น