กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9593
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธีทัต ตรีศิริโชติ
dc.contributor.advisorสุชนนี เมธิโยธิน
dc.contributor.authorนภาวรรณ โฆษิตสุริยะพันธุ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T06:47:35Z
dc.date.available2023-09-18T06:47:35Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/9593
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบที่มหาวิทยาลัยบริหารศูนย์แสดงสินค้าให้เป็นไปตามเป้าหมายในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกและเพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ของศูนย์แสดงสินค้าของมหาวิทยาลัยในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกใช้วิธีวิจัยเชิงผสมผสาน โดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการผู้บริหาร กระทรวงพาณิชย์อธิการบดีมหาวิทยาลัยผู้บริหารระดับจังหวัดในเขตเศรษฐกิจพิเศษภา ตะวันออก (EEC) จำนวน 8 ท่าน และใช้แบบสอบถามกับผู้ประกอบการชั้นนำในพื้นที่ EEC จำนวน 100 ชุด ใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเชิงอนุมาน แล้วนำผลมาวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural equation modeling: SEM) โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ Warp PLS ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลกับข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบที่มหาวิทยาลัยบริหารศูนย์แสดงสินค้าให้เป็นไปตามเป้าหมายในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก พบว่า มหาวิทยาลัยที่ควรแสดงสินค้าของบริษัทโรงงานอุตสาหกรรม มากที่สุดคือ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยมีรูปแบบที่มหาวิทยาลัยบริหารคือการจัดจ้างหน่วยงานการตลาดเชิงรุกและประชาสัมพันธ์ด้านการใช้ประโยชน์ของศูนย์แสดงสินค้าของมหาวิทยาลัยในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก พบว่า การบริการของศูนย์แสดงสินค้าที่ควรมีมากที่สุด คือ ให้คำปรึกษา แนะนำการลงทุน การเงิน การผลิต การตลาด รองลงมาคือ บริการจับคู่ทางธุรกิจและจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ด้านสินค้าที่ควรนำมาแสดงมากที่สุดคือ สินค้าที่มีความต้องการบริโภคสูง รองลงมาคือ สินค้าอุตสาหกรรมในเขต EEC และสินค้าเทคโนโลยี นวัตกรรม งานวิจัย โดยการตัดสินใจใช้ประโยชน์ ศูนย์แสดงสินค้ามากที่สุด คือเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้าและรองลงมาคือเพิ่มช่องทาง การตลาด การขายสินค้า
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subjectเขตเศรษฐกิจพิเศษ -- ไทย (ภาคตะวันออก)
dc.titleรูปแบบการบริหารและการใช้ประโยชน์มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์แสดงสินค้าในพื้นที่เขตเศรษกิจพิเศษถาคตะวันออก
dc.title.alternativeThe mngement style nd tking dvntge of the exhibition center of the university in the estern economic corridor zone
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the pattern of Management Exhibition Center of the University. According to the Eastern Economic Corridor Zone. And to study the use of the Exhibition Center of the University in the area of special economic zones east. This research using hybrid In-depth interviews with executive convention and visitors bureau, executive ministry of commerce, dean, executives province in eastern exclusive economic zone (EEC) for 8 peoples. And using questionnaires with leading operators in the EEC for 100 copies. Descriptive statistics were used to analyze the data and inferential data. Then the results were analyzed by structural equation model (SEM) using statistical tests program for harmonize data. The study indicated that: The management style of the exhibition center. According to the target area, Special eastern exclusive economic zone. Burapha University should reflect the company’s products. The style of management is to employ aggressive marketing and public relations. Taking advantage of the Exhibition Center of the University in the Eastern Economic Corridor Zone. The services of the Exhibition Center, it should have the most financial advisers, investment, production, marketing, followed by the services business matching conferences and workshops. The product should exhibit the most. Products with high consumer demand, followed by industrial products in the EEC and innovative products, technological, research by making use of the most Exhibition Center. Add channels to promote products and the second is Additional marketing channelmerchandising.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการจัดการสาธารณะ
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
54870025.pdf11.76 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น