กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/900
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorบัญชา นิลเกิดth
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.authorวศิน ยุวนะเตมีย์th
dc.contributor.authorบัลลังก์ เนื่องแสงth
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T08:54:50Z
dc.date.available2019-03-25T08:54:50Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/900
dc.description.abstractจุดประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของซิลิเกตต่อแพลงก์ตอนกุ่มไดอะตอม (Chaetoceros calcitrans) สำหรับการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon) โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 3 การทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาผลของซิลิเกตและไดอะตอมต่อการเลี้ยงกุ้งกุลาดำระยะวัยรุ่นในถังพลาสติก พบว่าซิลิเกตและ C.calcitrans มีผลต่อการเพิ่มความยาวของกุ้งกุลาดำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนนน้ำหนักของกุ้งกุลาดำพบว่าเฉพาะปริมาณของซิลิเกตเท่านั้นที่มีผลต่อการเพิ่มน้ำหนักของกุ้งกุลาดำอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ส่วนการทดลองที่ 2 ศึกษาผลของซิลิดเกตและไดอะตอมต่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำในบ่อดิน พบว่าการเติมซิลิเกตร่วมกับ C. calcitrans มีผลทำให้น้ำหนักและความยาวของกุ้งกุลาดำสูงกว่าการเติมซิลิเกตหรือ C.calcitrans เพียงอย่างเดียว อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) และในการทดลองที่ 3 ศึกษาผลของไดอะตอมต่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำในบ่อดิน พบว่ามีการเติมปริมาณ C. calcitrans ที่เพิ่มขึ้นร่วมกับการใช้ซิลิเกต มีแนวโน้มทำให้อัตราการเจริญเติบโตของกุ้งกุลาดำสูงขึ้น จากผลการทดลองพบว่าปริมาณ C.calcitrans ที่เหมาะสมที่ทำให้ความยาวและน้ำหนักของกุ้งกุลาดำสูงที่สุดเท่ากับ 1x10 5 เซลล์ต่อมิลลิลิตรth_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2548 และ 2550 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรีth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - การเจริญเติบโตth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - การเลี้ยงth_TH
dc.subjectกุ้งกุลาดำ - - อาหารth_TH
dc.subjectแพลงค์ตอนพืชth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการศึกษาแพลงก์ตอนกลุ่มไดอะตอมเพื่อใช้ควบคุมคุณภาพน้ำในการเลี้ยงกุ้งกุลาดำระบบหมุนเวียนน้ำแบบปิดth_TH
dc.title.alternativeStudy of diatom to control water quality in shrimp culture penaeus monodon with closed recirculating water system.
dc.typeResearch
dc.year2550
dc.description.abstractalternativeThe purpose of these experiments were to determine the effect of silicate and Chaetoceros calcitrans on growth of black tiger shrimp Penaeus monodon. the study was divided into three experiments. The first experiment focused on effect of silicate and Chaetoceros calcitrans on growth of Juvenile black tiger shrimp. Result of the study revealed that silicate and C. calcitrans had significantly effected on length og black tiger shrimp (P<0.05). The weught of black tiger shrimp showed that only silicate had significantly increased on black tiger shrimp (P<0.05). Culturing black tiger shrimp in the second experiment was showed that silicate and C. calcitrans had significant higher than either silicate or C. calcitrans (P<0.05) during experiment period. The last experiment, the effect of the amont of C. calcitrans on growth rate of shrimps, revealed that C. calcitrans increasing whit silicate had increase tend of shrimp growth rate. The appropriate amount of C. calcitrans for increasing length and weight of black tiger shrimp was 1x10 5 call/ml.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น