กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8831
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวรวุฒิ เพ็งพันธ์
dc.contributor.advisorสุวิชัย โกศัยยะวัฒน์
dc.contributor.authorศุภัครจิรา พรหมสุวิชา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T04:25:38Z
dc.date.available2023-06-06T04:25:38Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8831
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบของการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออกต่อการผลิตครูของสถาบันการครุศึกษาในภาคตะวันออก 2) เพื่อศึกษาบทบาทของสถาบันการครุศึกษาต่อการพัฒนาการผลิตครูในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และ 3) เสนอกลยุทธ์การพัฒนาการผลิตครูของสถาบันการครุศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยรวมทั้งสิ้น 48 คน แบ่งเป็นอาจารย์ผู้สอนและผู้บริหารของสถาบัน การครุศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3 แห่ง จำนวน 39 คน และผู้เกี่ยวข้องกับการผลิตครู จำนวน 9 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลกระทบของการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกต่อการผลิตครูของสถาบันการ ครุศึกษาในภาคตะวันออก ส่งผลกระทบในด้านการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม การขับเคลื่อนด้วยการสร้างการมีส่วนร่วม การขับเคลื่อนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2) บทบาทของสถาบันการ ครุศึกษาต่อการพัฒนาการผลิตครูในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พิจารณาจากการดำเนินการ ใน 4 กระบวนการ ประกอบด้วย กระบวนการรับเข้ามาเป็นครู กระบวนการผลิตครู กระบวนการ พัฒนาอาจารย์ และกระบวนการติดตามผล 3) กลยุทธ์การพัฒนาการผลิตครูของสถาบันการครุศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 จัดตั้งศูนย์ความร่วมมือระหว่างสถาบันผลิตครูในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่ออบรมด้านภาษาต่างประเทศและด้านเทคโนโลยี ให้ตอบสนองการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต กลยุทธ์ที่ 2 การทำความร่วมมือระหว่างสถาบันผลิตครูในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยการให้สิทธิ์ในการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 3 จัดบริการวิชาการเป็นชุมชนด้านการศึกษาเพื่อเพิ่มทักษะและการเรียนรู้ตามความต้องการของชุมชน โดยนักศึกษาครูและผู้สอนของสถาบันผลิตครูร่วมกัน กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาการผลิตครูในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้มีภาวะผู้นำทางการศึกษาเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการฝึกหัดครู
dc.subjectการฝึกสอน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.titleกลยุทธ์การพัฒนาการผลิตครูของสถาบันการครุศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
dc.title.alternativeStrtegies of techer preprtion development for eductionl institution in estern economic corridor
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study; (1) the impact of development in Eastern Economic Corridor on teacher production of the educational institutions, (2) the role of the educational institution in Eastern Economic Corridor in teacher development, and (3) propose strategy for teacher development of the educational institution in Eastern Economic Corridor. This study used qualitative research design. In-depth interview and focus group discussion were used for data collection. The 48 key informants were selected based on a purposive sampling. The results showed that; (1) the impact of development in Eastern Economic Corridor on teacher production of the educational institution on productivity growth, inclusive growth, and green growth, (2) the role of the educational institution for teacher development in Eastern Economic Corridor will consider the implementation of the process in 4 processes consisting of admission process as a teacher, teacher production process, teacher development process, and follow-up process, (3) strategies for teacher development of the educational institution in Eastern Economic Corridor consisted of 4 main strategies, namely strategy; 1 establish a cooperation center between the teacher production institute in Eastern Economic Corridor to train foreign languages and technology respond to lifelong learning, strategy 2; collaboration between the teacher production institute in Eastern Economic Corridor to grant the right to study at a network university, strategy 3; organize academic services as an educational community to increase skills and learning according to requirements of the community for students and teachers in the institute of teacher production, strategy 4 develop teacher production in Eastern Economic Corridor to have educational leadership for development in accordance with learning to change.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการศึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
58810215.pdf2.67 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น