กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8571
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุชาติ เถาทอง
dc.contributor.advisorวิโชค มุกดามณี
dc.contributor.authorรัษฎา บุญสอน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-06-06T03:59:43Z
dc.date.available2023-06-06T03:59:43Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/8571
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractปัญหาที่เกิดในวงการศิลปะสมมติฐานที่เกิดขึ้น แนวทางการออกแบบพื้นที่ร่วมสมัย ความต้องการการแสดงงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่มันเติบโตขึ้นกับพื้นที่ ที่เป็นอยู่ไม่เป็นปัจจัยสัมพันธ์ต่อกันไม่มีนัยยะทําให้เกิดปัญหาในการแสดงงานแต่ละครั้ง จัดตั้งแสดงเหมาะสมตรงตามธรรมชาติของงาน โครงสร้างของพื้นที่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับงานร่วมสมัยภายใต้บริบทสังคมไทย และมองเห็นทางออกในการแก้ปัญหา เพื่อผลักดันให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์ที่มีมาตรฐานยิ่งขึ้น และตอบสนองความต้องการการแสดงงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่มันเติบโตขึ้นกับพื้นที่ ทําให้เกิดปัญหาในการแสดงงานแต่ละครั้ง ในการจัดตั้งแสดงเหมาะสมตรงตามธรรมชาติของงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของศิลปิน ซึ่งจะได้หลุดจากข้อจํากัดเรื่องพื้นที่ในการจัดแสดงที่เป็นอยู่ไม่เป็นปัจจัยสัมพันธ์ต่อกันในงานวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้พื้นที่ในส่วนพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะ และหอศิลป์ ภาครัฐและเอกชน ศึกษาองค์ประกอบพื้นที่การจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ศิลปะในประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมการแสดงของพิพิธภัณฑ์ร่วมสมัยบนพื้นฐานบริบทความเป็นไทย ที่มีการสํารวจ ลงพื้นที่พบข้อปัญหาพื้นที่ไม่สามารถตอบสนองแนวความคิดของศิลปินได้ จึงนําเอาปัญหามาคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนําไปสู่การออกแบบ จึงจําเป็นต้องศึกษาลักษณะผู้ใช้งานศิลปินสมัยใหม่ ศึกษาความต้องการใช้พื้นที่เพื่อสามารถกําหนดพื้นที่และความเหมาะสมของบริเวณที่ตั้งให้สอดคล้องกับการใช้งาน เพื่อเป็นแนวการทดลองออกแบบพื้นที่สมัยใหม่ภายใต้บริบทความเป็นไทย และผู้วิจัยมีความคาดหวังว่าจะเป็นแนวทางการออกแบบเพื่อนําไปสู่พื้นที่ร่วมสมัย ที่สามารถตอบสนองแนวการทํางานสมัยใหม่ในปัจจุบัน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.subjectพิพิธภัณฑ์ -- ไทย
dc.subjectพิพิธภัณฑ์ -- การออกแบบ
dc.subjectวิทยานิพนธ์ ?aปริญญาเอก
dc.subjectพิพิธภัณฑ์ -- การบริหาร
dc.titleพิพิธภัณฑ์ประเทศไทยแนวทางการออกแบบพื้นที่ร่วมสมัย
dc.title.alternativeThi museum: design guideline for contemporry rt spce
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research involves with the problems in arts circle, the assumption in the guideline of contemporary area design and the requirement of the show in several ways increasing with the expanding area without the related factor with the significance. Then, it may cause problems in the show for each time,except for the suitable setting of the show directly to the nature. However, it had seen that the structure is not directed to the contemporary work under the context of Thai society. Thus, it should find the solutions and push up the arts work to be placed in the learning center or the museum with the better standard. Therefore, it could be response to the requirements of the show in several ways with the area. In this study, it can reduce the problems of the show and focusing on responding to the requirements of the artists. Then, the researcher can reduce the limitations by using the museum and the galleries for government and private sections. Besides this research has the objective to study for the components of the area from the arts museums in Thailand and foreign countries, it can promote the shows of the museums on the basis of the context by surveying in the areaand finding the problems that are not relative to the artist’s concept idea. Then, it can bring the problems to be analyzed, synthesized and made the design. In this case, it is essential to study for the characteristics of the users while the modern artists should study for the requirements of the area. Therefore, it can specify and be suitable area. Nevertheless, the researcher has the expectation that this research can be the guideline and the work design in the modern area responding to the work in this age.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineทัศนศิลป์และการออกแบบ
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
54810095.pdf61.15 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น