กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7559
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorมนตรี แย้มกสิกร
dc.contributor.advisorพงศ์เทพ จิระโร
dc.contributor.authorดารณี กีรติปกรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T04:14:49Z
dc.date.available2023-05-12T04:14:49Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7559
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้กระบวนการวิธีการวิจัยและพัฒนา ซึ่งประกอบด้วยการดำเนินงาน 4 ขั้นตอน 1) การศึกษาสภาพการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา และข้าราชการครู จำนวน 135 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 405 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขนาดเล็ก 2) การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขนาดเล็ก วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของครู สร้างคู่มือการใช้มาตรฐานการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียน ขนาดเล็ก 3) ทดลองใช้มาตรฐานการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนบ้านนอก โรงเรียนวัดหนองปรือ (สามัคคีราษฎร์บำรุง) และโรงเรียนบ้านเนินทุ่ง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู 4) สรุปผลการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา และข้าราชการครู จำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียนละ 3 คน รวม 9 คน และผู้ประเมิน 3 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความเหมาะสม ของมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู ผลการวิจัย พบว่า สภาพการปฏิบัติงานของครู ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูมีองค์ประกอบ จำนวน 12 มาตรฐาน 136 ตัวบ่งชี้ ผลการทดลองใช้มาตรฐานการปฏิบัติงานของครู ปรากฏว่า โรงเรียนบ้านนอก และโรงเรียน บ้านเนินทุ่ง มีผลการประเมินของสถานศึกษากับผู้ประเมินสอดคล้องกันทุกมาตรฐาน ส่วนโรงเรียน วัดหนองปรือ (สามัคคีราษฎร์บำรุง) ผลการประเมินของสถานศึกษากับผู้ประเมินไม่สอดคล้องกัน ในมาตรฐานที่ 12 ผลการประเมินความเหมาะสมของมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.78
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectครูประถมศึกษา -- การทำงาน
dc.subjectครู -- มาตรฐาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.titleการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของครูของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
dc.title.alternativeThe development of performnce stndrd for techer of smll schools in primry eductionl re offices
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to develop performance standard for teacher of small school in Primary Educational Area Offices by research and development which compossed of 4 steps 1: Performance conditions of the small school teacher were studied from directors, teacher who were responsibility to quality assurance in education and teacher from 135 schools with the total of 405 teachers. The research instruments were the questionnaire on performance conditions of the small school teacher, steps 2: the development of performance standard for teacher of small school. The purposes of this step was arranged to develop performance standard for teacher and user’s manual for the performance standard, step 3: to implement the develop performance standard for small school teacher with three schools, they were Bannok School, Watnongprue School (Samukkeerajbumrung) and Bannuentung School. Data collection instrument was performance standard for teacher evaluation form, step 4: assessing the development of performance standard, the samples were school directors, all together were quality assurance teachers who were responsible for from 3 schools, 3 people per school, total of 9 teachers and 3 assessors, 12 people. Research instrument was questionnaire. The results of the research were that the performance condition of the teachers were at high level in overall with the average at 4.20. The performance standard for the teachers compossed of 12 standards, 136 indicators. The result of the implementing the performance standard for teacher were that school evaluation result of two schools conformed into every standard with the school evaluation result. While the result of one school did not conform to all 12 the standard. The suitability evaluation result of performance standard for teacher was at the highest in overall with the average of 4.78
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf11.54 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น