กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7291
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอรรัมภา ไวยมุกข์
dc.contributor.authorสมชาย อ่อมอิน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:43:00Z
dc.date.available2023-05-12T03:43:00Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7291
dc.descriptionงานนิพนธ์ (น.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงปัญหาการนํามาตรการลงโทษทางอาญาตาม ประมวลกฎหมายที่ดินมาบังคับใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติได้จริงต่อบุคคลผู้กระทําการฝ่าฝืนการถือครองที่ดินของบุคคลต่างด้าว ทั้งต่อตัวบุคคลต่างด้าวและบุคคลผู้มีส่วนร่วมกระทําความผิดด้วย โดยศึกษาถึงกรณีบุคคลต่างด้าวที่เป็นบุคคลธรรมดาและการถือครองที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยประสบปัญหาการนํามาตรการบังคับโทษทางอาญาตาม มาตรา 111 และมาตรา 113 แห่งประมวลกฎหมายที่ดินมาบังคับใช้แก่บุคคลต่างด้าวและบุคคลผู้มีส่วนร่วมในการฝ่าฝืนต่อการถือครองที่ดินตามบทบัญญัติว่าด้วยการกําหนดสิทธิในที่ดินของบุคคลต่างด้าวตามประมวลกฎหมายที่ดิน ด้วยการให้บุคคลผู้มีสัญชาติไทยมีชื่อถือครองที่ดินแทนและจดทะเบียนก่อภาระผูกพันในที่ดินเพื่อให้บุคคลต่างด้าวเป็นผู้ทรงสิทธิมีอํานาจบงการครอบงําเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดิน ได้อย่างเป็นเจ้าของที่ดินมีกําหนดระยะเวลายาวนาน สาเหตุของปัญหาที่สําคัญเกิดจากการไม่ใช่อํานาจในการสืบสวนสอบสวนของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบอย่างแท้จริง เนื่องจากไม่มีการแต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่ผู้มีอํานาจหน้าที่รับผิดชอบเป็นการเฉพาะ รวมถึงบทกําหนดโทษจําคุกและโทษปรับที่มีตาม ประมวลกฎหมายที่ดินอาจยังไม่เพียงพอต่อการยับยั้งป้องกันการกระทําความผิดซ้ำของผู้มีส่วนร่วมฝ่าฝืนการถือครองที่ดินของบุคคลต่างด้าวได้ จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้เสนอแนะให้ปรับปรุงประมวลกฎหมายที่ดินโดยแต่งตั้งเจ้าพนักงานที่ดินเป็นพนักงานสอบสวนมีอํานาจสอบสวนความผิดตามประมวลกฎหมายที่ดินเพื่อส่ง พนักงานอัยการฟ้องดําเนินคดีต่อศาลยุติธรรมได้ และเพิ่มเติมมาตรการบังคับทางอาญาโดยนําวิธีการเพื่อ ความปลอดภัยห้ามมิให้บุคคลผู้มีส่วนร่วมกระทําความผิดต่อการถือครองที่ดินของบุคคลต่างด้าวมีสิทธิ เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองที่ดินขึ้นใหม่เป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันพ้นโทษตามคําพิพากษาศาล เพื่อเป็นการป้องกันการกระทําความผิดซ้ำรวมทั้งเสนอให้มีการจัดตั้งหน่วยงานกลางภายในกรมที่ดินขึ้นใหม่ให้มีโครงสร้างความรับผิดชอบต่อการรวบรวมข้อมูลและดําเนินมาตรการการถือครองที่ดินของบุคคลต่างด้าวให้สามารถบังคับใช้ได้จริง
dc.language.isoth
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการถือครองที่ดิน -- ไทย
dc.subjectกรรมสิทธิ์ที่ดิน
dc.subjectคนต่างด้าว -- การถือครองที่ดิน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชากฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
dc.subjectการถือครองที่ดิน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
dc.titleปัญหาการบังคับใช้มาตรการวิธีการเพื่อความปลอดภัยในการควบคุมการถือครองที่ดินโดยบุคคลต่างด้าว
dc.title.alternativeProblems concerning the enforcement of penl mesures in liens lnd holding regultion
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study and analyze the enforcement problem of actual penal measures a land tenure of aliens under the Land Code resulting in the lack of actual practical effect toward the aliens and their accomplices. The study on the event of aliens as natural person and land tenure under Land Code was conducted. According to the study, the finding indicated that Thailand has encountered with the enforcement problem of penal measures under Section 111 and Section 113 of Land Code both toward the aliens and their accomplices in violation of legislation on Aliens’ land rights under Land Code by allowing Thai nationals to be named in land title deeds in lieu of the aliens and to later create burdens on lands for the benefice of aliens so that the latter become the subject of rights with the power to command, dominate and use land as if being the proprietor for long-term period. The cause of the significant problem was due to non-actual exercise of inquiry power by the responsible authority since the officer with specific authority and responsibility has not yet been appointed. In addition, penal measures available under the current Land Code which are imprisonment and fine might be inadequate to prevent recidivism of the accomplices of the offence concerning land tenure of aliens. From the aforesaid problems, the researcher suggested that Land Code should be amended by appointing land officers to be the inquiry official in charge of inquiry power of offences under Land Code and to submit the case to public prosecutor for prosecution before the Court of Justice. For recidivism prevention , should be added to actual penal measures, the measures of safety withholding the rights of ownership and possession of new lands from the accomplices of the offences concerning land tenure of aliens for not exceeding five years from liberation date. Moreover, the central agency under Department of Lands should be established and entitled with the responsibility structure on data collection and execute the legal measures concerning land tenure of aliens for actual enforceability
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf818.36 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น