กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6919
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกิตติมา พันธ์พฤกษา
dc.contributor.advisorสมศิริ สิงห์ลพ
dc.contributor.authorนพดล ศิลปชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:25:04Z
dc.date.available2023-05-12T03:25:04Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6919
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะ การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ I และศึกษา ทักษะการทำงานกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) จำนวน 39 คน ได้มาจาก การสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ I 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน 3) แบบวัดทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ และ 4) แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีกรณีสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระกัน และการทดสอบค่าทีกรณีกลุ่มเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ I เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ I เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ I เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ ของพืชดอก หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ทักษะการทำงานกลุ่มของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ I เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของ พืชดอก หลังเรียนอยู่ในระดับดี
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วม
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 อี
dc.subjectการเรียนรู้เป็นทีม
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
dc.subjectพืชดอก -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)
dc.titleการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์และทักษะการทำงานกลุ่มเรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอร์ 1 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternativeA study of lerning chievement, Science Communiction Skills nd Temwork Skiils on structure nd function of ngiosprems using 5E lerning cycle nd coopertive lerning jigsw I technique for Eleventh Grde Students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to compare learning achievement and science communication skills of students before and after learning with 5E learning cycle and cooperative learning jigsaw I technique and to study teamwork skills. The participants consisted of 39 eleventh grade students at Bansuan Jananusorn School in the second semester of academic year 2016. They were randomly selected by using the cluster random sampling method. The research instruments included 1) Lesson plans using 5E learning cycle and cooperative learning jigsaw I technique on structure and function of angiosperms, 2) Learning achievement test, 3) Science communication skills test and 4) Teamwork skills evaluation form. The data were analyzed using mean, standard deviation, dependent samples t-test and one sample t-test. The results showed that 1. The posttest scores of students’ learning achievement after using 5E learning cycle and cooperative learning jigsaw I technique on structure and function of angiosperms were statistically significant higher than pretest scores at the .05 level. 2. The posttest scores of students’ learning achievement after using 5E learning cycle and cooperative learning jigsaw I technique on structure and function of angiosperms were statistically significant higher than the 70 percent criteria at the .05 level. 3. The posttest scores of students’ science communication skills after using 5E learning cycle and cooperative learning jigsaw I technique on structure and function of angiosperms were statistically significant higher than pretest mean scores at the .05 level. 4. The posttest scores of students’ teamwork skills after using 5E learning cycle and cooperative learning jigsaw I technique on structure and function of angiosperms were at good level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการสอนวิทยาศาสตร์
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น