กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6490
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบุญรัตน์ ประทุมชาติ
dc.contributor.authorวิไลวรรณ พวงสันเทียะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:51:30Z
dc.date.available2023-05-12T02:51:30Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6490
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาวงจรชีวิตของแมงกะพรุนถ้วยหางขน Acromitus flagellatus (Maas, 1903) และผลของอุณหภูมิความเค็มที่ผลต่อการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของไซพิสโตม่าแมงกะพรุนถ้วยหางขน ภายใต้สภาพห้องปฏิบัติการ พบว่าแมงกะพรุนถ้วยหางขน มีการสืบพันธุ์ 2 แบบ คือ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) ในระยะที่มีรูปร่างแบบเมดูซ่า (Medusa) และการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) ในระยะไซพิสโตม่า (Scyphistoma) เริ่มจากไซโกตพัฒนาเป็นตัวอ่อนระยะพลานูล่า (Planula) ภายใน 18-24 ชั่วโมง ก่อนลงเกาะกับวัสดุเป็นระยะไซพิสโตม่าเริ่มต้น (Newly metamorphosed scyphistoma) เมื่ออายุ 4 วัน ไซพิสโตม่ามีการสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศ ได้แก่ การแตกหน่อ(Budding) การแตกหน่อแบบสโตลอน (Stolonbudding) และการสร้างซีสต์ (Cyst) และไซพิสโตม่าพัฒนาเข้าสู่ระยะสตรอบิล่า (Strobila) เมื่ออายุ 20 วัน เป็นแบบ Monodiskstrobilation เอฟิร่า (Ephyra) หลุดออกจากสตรอบิล่า เมื่ออายุ 26 วัน และเมื่ออายุ 33 วัน เอฟิร่าพัฒนาการเข้าสู่ระยะที่มีรูปร่างแบบเมดูซ่าขนาดเล็ก (Small medusa) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางร่มตั้งแต่ 6 มิลลิเมตรขึ้นไป ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า อุณหภูมิและความเค็มมีอิทธิพลร่วมกันต่อการสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศของไซพิสโตม่าแมงกะพรุนถ้วยหางขน โดยพบจํานวนหน่อใหม่ (ค่าเฉลี่ย±SE) สูงสุดที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส (°C)ร่วมกับความเค็ม 20, 10 ส่วนในพันส่วน (ppt) (4.2±0.9, 3.8±0.7 หน่อ ตามลําดับ) (p0.05) ต่อการเกิดซีสต์ (0.0-1.2 ซีสต์) และระยะเวลาการอยู่รอดของไซพิส โตม่า (10.0 - 25.6 วัน)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectแมงกะพรุน
dc.subjectแมงกะพรุน -- การสืบพันธุ์
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวาริศาสตร์
dc.titleวงจรชีวิตและผลของอุณหภูมิความเค็ม ต่อการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของไซพิสโตม่าแมงกะพรุนถ้วยหางขน Acromitus flagellatus (Maas, 1903) ภายใต้สภาพห้องปฏิบัติการ
dc.title.alternativeLife cycle nd effect of temperture,slinity on sexul reproduction of rhizostome jellyfish scyphistom, cromitus flgelltus (ms, 1903) under lbortory condition
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe life cycle of a rhizostomae jellyfish, Acromitus flagellatus (Maas, 1903) and effect of temperature, salinityon asexual reproduction of its scyphistoma were studied under the laboratory condition. The life cycle of A. flagellatus revealed an alternation of reproduction between sexual reproduction in medusa stage and asexual reproduction in scyphistoma stage. The embryos developed into planulae within18-24 hours,4 daysold planula larvae settled on substrata to newly metamorphosed scyphistomae. Scyphistomae reproduced asexually viathe budding, stolon budding and cyst formation, and then developed into strobila (20 daysold larva) via Monodisk strobilation. Each strobila at 26 daysold released an ephyra which transformed to a small medusa (33 daysold larva). The bell diameter of small medusa was at least 6 mm. The study on effect of temperature and salinity onasexual reproduction of scyphistoma, A. flagellatus showed the highest number of buds (mean±SE) occurred at 25 °C and 20, 10 ppt (4.2±0.9, 3.8±0.7buds, respectively) (p0.05) by temperature and salinity
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวาริศาสตร์
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.69 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น