กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/622
ชื่อเรื่อง: ผลของอุณหภูมิและความเห็นต่อการสร้างเอ็มไซม์ protease ของ vibrio anguillarum
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Effects of temperature and salinity on proteax production of vibrio anguillar vin
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: นันทนา อรุณฤกษ์
สุภาพร ช้างศรี
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ: แบคทีเรีย
เอนไซม์ - - การทดสอบ
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
วันที่เผยแพร่: 2534
สำนักพิมพ์: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีจุดม่งหมายเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของความเค็มและอุณหภูมิต่อความสามารถในการเจริญ และการสร้างเอนไซม์ ของเชื้อ Vibrio anguillarum ที่แยกได้จากน้ำทะเล แลตัวอย่างสัตว์ทะเลจากชายหาดในจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2534 จำนวน 10 ตัวอย่าง โดยตรวจสอบความสามารถในการสร้างเอนไซม์โปรติเอส และการเจริญในสภาพี่มีความเข้มข้นของ NaCl และอุณหภูมิที่แตกต่างกัน เพื่อหาสภาพที่เหมาสมต่อการเจริญแลการสร้างเอนไซม์โปรตีเอส ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ความเค็ม 2-7 % NaCl เหมาะสมสำหรับการเจริญของเชื้อ V. anguillarum และอุณหภูมิ 20-37 C มีอัตราการเจริญเพิ่มจำนวนค่อนข้างสูงโดยเฉพาที่อุณหภูมิ 37 C แต่สายพันธุ์ที่แยกได้เป็นสายพันธุ์ที่มีการสร้างเอนไซม์โปรตีเอสได้น้อยมาก จนแทบตรวจสอบไม่พบ ซึ่งอาจเนื่องมาจากเป็นสายพันธุ์ที่แยกได้จากสภาพแวดล้อม และเป็นสายพันธุ์ที่ไม่ก่อโรค The purpose of this study was to investigate the effects of environmental facors : NaCl concentration and temperature to the protesse protease production of Vibrio anguillarum were studie V. anguillarum were collected from seawater, fishes and molluses from the coast of Chonburi province during April-May 1990. Cultures were incubated in Py medium. The turbidities were red spectrophotometrically at wavelength 430 nm. The protease activities were performed by using azocasein. An analysis of the effects of growth conditions on the growth of V. anguillarum showed that the optima were as follow : NaCl concentration 5 % and temperature 25 C. Nevertheless the protease production was relatively low. This may be that the environmental strains is not the causative agent of vibriosis.
URI: http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/622
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น