กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6214
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภัทราวดี มากมี
dc.contributor.advisorอุทัยพร ไก่แก้ว
dc.contributor.authorสุพัตรา ใจตั้ง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา
dc.date.accessioned2023-05-12T02:37:22Z
dc.date.available2023-05-12T02:37:22Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6214
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างตัวแปรความแตกต่างระหว่างบุคคลกับกลวิธีจัดการแบบเชิงรุก (PRO) และสร้างสมการทำนายกลวิธีจัดการแบบเชิงรุกด้วยตัวแปรความแตกต่างระหว่างบุคคล กลุ่มตัวอย่างเป็นครูวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำนวน 160 คน ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยใช้โปรแกรม SPSS และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัย ปรากฏว่า 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล 5 ด้าน ได้แก่การกำหนดเป้าหมายในอนาคต (FUT) การวางเป้าหมายที่เหมาะสม (GOA) การมองโลกในแง่ดี (DIS) การรับรู้ความสามารถของตนเอง (SEL) และความวิตกกังวลด้านอายุ (AGI) มีความสัมพันธ์พหุคูณกับกลวิธีจัดการแบบเชิงรุก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล 5 ด้าน สามารถพยากรณ์กลวิธีจัดการแบบเชิงรุกได้ร้อยละ 80 และสร้างสมการถดถอยพหุคูณ ได้ดังนี้ สมการถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนดิบ = .32(FUT)**+ .20(GOA)**+ .21(DIS)**+ .10(SEL)** + .18(AGI)** -.73 สมการถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนมาตรฐาน ZPRO ˆ = .38Z ** FUT + .26Z ** GOA + .35Z ** DIS + .11Z ** SEL + .22Z ** AGI สรุปได้ว่า การกำหนดเป้าหมายในอนาคต สามารถทำนายกลวิธีจัดการแบบเชิงรุกได้มากที่สุด รองลงมาได้แก่ การมองโลกในแง่ดีการวางเป้าหมายที่เหมาะสม ความวิตกกังวลด้านอายุ และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ตามลำดับ
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectครู -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)
dc.subjectครู
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.titleความแตกต่างระหว่างบุคคลที่ทำนายกลวิธีจัดการแบบเชิงรุกของครูวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
dc.title.alternativeIndividul differences predicting proctive coping strtegies of middle – ged techers in the secondry eductionl service re office 18
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the relationship between individual differences and proactive coping (PRO) and to formulate the predictive equations of proactive coping strategies with individual differences. The sample consisted of 160 middle-aged teachers in the secondary educational service area office 18 derived from multi-stage random sampling. The research instrument was a questionnaire. Descriptive statistics and correlation coefficient analysis were analyzed by SPSS. Multiple regression analysis was derived by LISREL program. The results were as follows: 1. Five individual differences: future temporal orientation (FUT), goal orientation (GOA), dispositional optimism (DIS), self-efficacy (SEL), and aging anxiety (AGI) were related significantly (.01) to proactive coping. 2. Five individual differences could be used to effectively predict proactive coping at 80%. The multiple regression equations were as follows: Multiple regressions in the form of raw score was: = .32(FUT)** + .20(GOA)** + .21(DIS)** + .10(SEL)** + .18(AGI)** -.73 Multiple regressions in the form of standard score was: ZPRO ˆ = .38Z ** FUT + .26Z ** GOA + .35Z ** DIS + .11Z ** SEL + .22Z ** AGI In conclusion, future temporal orientation was the greatest factor for predicting proactive coping, followed by dispositional optimism, goal orientation, aging anxiety, and self-efficacy, repectively.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.31 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น