กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/61
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorปิยนุช คนฉลาด
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:45Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:45Z
dc.date.issued2542
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/61
dc.description.abstractจุดมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อติดตามผลของการปฏิบัติงานของบัณฑิตศึกษาศาสตร์ระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีการศึกษา 2539 โดยสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอน การจัดกิจกรรม การบริการของคณะ/มหาวิทยาลัย ประโยชน์การนำไปใช้เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบัณฑิตโดยจำแนกตามเพศ สาขาวิชา และเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงแก้ไข กลุ่มตัวอย่างได้แก่ บัณฑิตศึกษาศาสตร์ผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2539 จำนวน 201 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ คะแนนเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1. ความคิดเห็นของบัญฑิตสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งเพศชายและเพศหญิงเห็นว่าหลักสูตร การเรียนการสอน การจัดกิจกรรม การบริการ และประโยชน์การนำไปใช้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน 2. ความคิดเห็นของบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์ทั้งเพศชายและเพศหญิงทั้ง 4 ด้าน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น เพศชายเห็นว่า ด้านประโยชน์การนำไปใช้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3. ความคิดเห็นของบัณฑิตคณะสังคมศาสตร์ทั้งเพศชายและเพศหญิงในด้านประโยชน์การนำไปใช้ มีความเหมาะสมอยุ่ในระดับมาก ส่วนด้านอื่นๆ มีความเหมาะสมอยุ่ในระดับปานกลาง 4. ความคิดเห็นของบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ใน 4 ด้านมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นบัณฑิตสาขาสังคมศาสตร์เห็นว่า ด้านประโยชน์การนำไปใช้มีความเหมาะสมอยุ่ในระดับมาก 5.ความคิดเห็นของบัณฑิตสาขาวิทนาศาสตร์ทั้งเพศชายและเพศหญิง แตกต่างกันในด้านประโยชน์การนำไปใช้ ส่วนด้านอื่นๆ มีความเห็นไม่แตกต่างกัน 6. ความคิดเห็นของบัณฑิตสาขาสังคมศาสตร์ทั้งเพศชายและเพศหญิง แตกต่างกันในด้านกิจกรรม ส่วนด้านอื่น ๆ มีคว่มเห็นไม่แตกต่างกัน 7. ความคิดเห็นของบัณฑิตระหว่างสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ในด้านหลักสูตรการสอน การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม และประโยชน์การนำไปใช้แตกต่างกัน ส่วนด้านบริหารมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของบัณฑิตเกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไขคือ ให้คณะหรือมหาวิทยาลัยปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง เช่นเพิ่มวิชาคอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ ตลอดจนวิชาเลือกให้มากขึ้น การจัดกิจกรรมควรมีหลากหลายและส่งเสริมให้อาจารย์ และนิสิตเห็นความสำคัญ ในการเข้าร่วมกิจกรรมมมากขึ้น ควรปรับปรุงการจัดบริการอาหารให้ถูกสุขลักษณะ สอดส่องดูแลความปลอดภัยในหอพัก และตามจุดอื่น ๆ ภายในมหาวิทยาลัยth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการทำงาน - - วิจัยth_TH
dc.subjectกำลังคนระดับอุดมศึกษา - - ไทย - - วิจัยth_TH
dc.subjectบัณฑิต - - การจ้างงาน - - วิจัยth_TH
dc.subjectบัณฑิต - - การติดตามผล - - วิจัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ - - บัณฑิต - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการติดตามผลการปฏิบัติงานของบัณฑิตศึกษาศาสตร์ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2539th_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2542
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to follow up studies of educational at undergraduate level in the academic year 1996 by the survey of their opinions towards the curriculum and instruction, organizing activities, survices, and applications to job performance. Comparison on their perception classified by sex and field of studies and recommedations were also investigated.The sample comprised of 201 educational graduates of sciences and social sciences. A five-level rating scale questionaire constructed by the researcher was the instrument for collecting the data. Meam' standard deviation, and t-test were statistical devices for analyzing the data.The finding were as follows:1. The male and female science and social science graduates' perception towards curriculum and instruction, organizing activities, services, and implications to job perfromance were rated at a moderates level.2. The male and female science graduates' perception towards three aspects of curriculum and instruction, organizing activities, and services were rated at a moderate level exxept the male's perceptions towards the implications to job performence were rated at a high level.3. The social sciences male and female graduates' perceptions towards the aspect of the applications to job performance were rated at high level; but the other aspects were rated at a moderate level.4. The sciences and social sciences graduates's perceptions towards curriculum and instruction, organizing activities and survices were rated at a moderate level; except the social science graduates found that the applications to job performance was rated at a high level.5. The perception between mal and female graduates towards the applications to job performance were different; but the other aspects were indifferent.6. The perceptions between male and female social sciences graduates towards the survices were different; but the other aspects were indifferent.7. The perceptions between science and social sciences graduates towards curriculum and instruction, organizing activities and application to job perfromance were different except the services were found indifferent.The recommendations for the faculty of Education and the university were to revise the curriculum and instruction to match the technological changes; such as computer, English and more electives. Organizing interesting activities should be performed in order to motivate faculties and students to participate in.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2542_003.pdf1.12 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น