กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6123
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorศศิธร มั่นเจริญ
dc.contributor.authorจุฑามาศ บุญตั้งแต่ง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:25:47Z
dc.date.available2023-05-12T02:25:47Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6123
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยได้พัฒนาขั้วไฟฟ้าบิสมัทโดยเคลือบขั้วไฟฟ้ากลาสซี่คาร์บอนด้วยอนุภาคนาโน บิสมัทรูปทรงกลม และอนุภาคบิสมัทรูปทรงแท่ง เพื่อนำไปใช้เป็นขั้วไฟฟ้าในการวิเคราะห์โลหะหนัก ได้แก่ สังกะสี, แคดเมียม และตะกั่ว โดยใช้เทคนิคสแควร์เวฟแอโนดิกสตริปปิงโวลแทมเมทรี (Square – wave anodic stripping voltammetric technique) ในการสังเคราะห์อนุภาคนาโนบิสมัทชนิดต่างๆ นี้ได้ ทําการศึกษาปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อการสังเคราะห์อนุภาคนาโนรูปทรงกลม และอนุภาคบิสมัทรูปทรง แท่ง ตามลำดับ นอกจากนี้ยังศึกษาคุณลักษณะ โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถสังเคราะห์อนุภาคนาโนรูปทรงกลม และอนุภาคบิสมัทรูปทรงแท่ง ที่มีขนาด 137.0 ±3.43 นาโนเมตร และ 5.18 ± 1.36 ไมโครเมตร ตามลําดับ เมื่อนำขั้วไฟฟ้าที่พัฒนาแล้ว ไปวิเคราะห์โลหะหนัก ซึ่งจากผลการทดลองศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการวิเคราะห์คือ ค่าศักย์ไฟฟ้า และระยะเวลาในการเกาะติดสารที่เหมาะสมมีค่าเท่ากับ -1.4 โวลต์ และ 240 วินาที ตามลําดับ ที่ ความถี่ 25 เฮิร์ต แอมพลิจูด 25 มิลลิโวลต์ และสเตปโพเทนเชียล 4 มิลลิโวลต์ และสําหรับช่วงความ เป็นเส้นตรงของสังกะสี,แคดเมียม และตะกั่วมีค่าอยู่ในช่วง20 – 130 ไมโครกรัมต่อลิตร,10 – 60 ไมโครกรัมต่อลิตรและ 6 – 54 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลําดับ ค่าขีดจำกัดการตรวจวัด (LOD) คือ 3.2 ไมโครกรัมต่อลิตร สำหรับสังกะสีและ 1.60 ไมโครกรัมต่อลิตร สำหรับแคดเมียม และตะกั่ว ตามลําดับ นอกจากนี้ได้นำขั้วไฟฟ้าที่พัฒนาขึ้นนี้ไปวิเคราะห์หาปริมาณโลหะดังกล่าวในตัวอย่างน้ำทะเล พบว่าให้ผลเป็นที่น่าพอใจ
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโลหะหนัก -- การวิเคราะห์
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมี
dc.subjectอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
dc.titleการวิเคราะห์โลหะหนักด้วยขั้วไฟฟ้าอนุภาคนาโนบิสมัทรูปร่างต่าง ๆ
dc.title.alternativeElectrochemicl nlysis of hevy metls by vrious shpes nno bismuth electrode
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeModification the bismuth nanoparticles (Spheres and Rods)onto glassy carbon electrode as a working electrode has been developed and applied for heavy metal analysis (Zinc, Cadmium and Lead) by square-wave anodic stripping voltammetric technique. The optimization of synthesis the nanobismut spheres and bismuth rods) was investigated. The morphology and structure of the nanoparticles were analyzed with a scanning electron microscope (SEM) . The under optimal conditions, the size of synthesize nanobismuth spheres and bismuth rods were 137.0 ± 3.43 nm และ 5.18 ± 1.36 nm, respectively. For the heavy metal analysis using the modify electrode, it was observed that the optimal conditions of deposition potential and deposition time were -1.4 V and 240 s and frequency 25 Hz, amplitude 25 mV and step potential 4 mV. The linearity of zinc, cadmium and lead were20 – 130 µg.L -1 , 10 – 60 µg.L -1 and 6 – 54 µg.L -1 , limit of detection were 3.20 µg.L -1 for zinc and 1.60 µg.L -1 for cadmium and lead, respectively. Moreover, the propose electrode was applied to determine the metals in sea water. It gave the satisfactorily results.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเคมี
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
55910127.pdf10.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น