กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4674
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชัยฤกษ์ สอนเจริญ-
dc.contributor.authorสุชนนี เมธิโยธิน.-
dc.date.accessioned2022-08-12T13:12:01Z-
dc.date.available2022-08-12T13:12:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.issn1685-2354-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4674-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาหารูปแบบวิธีการในการส่งออกและส่งเสริมการปลูกเห็ดหลินจือที่ปลูกในพื้นที่สูงไปสู่ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้การวิจัยเชิงประสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกนักธุรกิจส่งออกพืชผักและทูตพาณิชย์กับประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน กรมการค้าต่างประเทศ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ จำนวน 8 คน การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามระดับความคิดเห็นจากกลุ่มผู้รับซื้อเห็ดหลินจือในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนใน 4 มณฑล ได้แก่ เฉิงตู ซีอาน นครกวางโจว มณฑลยูนนาน พบว่า เห็ดหลินจือแปรรูปแบบดอกอบแห้งเป็นที่ต้องการมากที่สุด เส้นทางบก R3B เหมาะสำหรับส่งออกเห็ดหลินจือ เพราะมีระยะทางสั้นและค่าใช้จ่ายไม่สูงมาก การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยใช้สถิติ Multiple linear regression ที่มีนัยสำคัญในเส้นทาง R3B นี้ คือ การเลือกเส้นทางในการรับการควบคุมการผลิตของเกษตรกร การควบคุมกระบวนการการผลิตของเกษตรกรกระบวนการและขั้นตอนการจัดเก็บ เส้นทางที่มีความเหมาะสมมากที่สุดในการขนส่ง กฎระเบียบหรือกฎหมายที่นักธุรกิจไทยส่งออกพืชผักต้องรับทราบปัญหา และอุปสรรค เกี่ยวกับกฎระเบียบหรือกฎหมาย ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับการส่งออกเห็ดหลินจือของไทย และทดสอบการส่งออกเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องโดยใช้ นำผลที่ได้ไปทำคู่มือ แนะนำเกษตรกรในการปลูกและส่งหลินจือไปสู่ตลาดการค้าประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยการเพาะปลูกควรเป็นแบบเกษตรอินทรีย์ เพคเกจต้องเป็นเอกลักษณ์ ผู้ส่งออกต้องศึกษาขั้นตอนการส่งออกสินค้าของประเทศไทยและการน าเข้าสินค้าของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมถึงค่าใช้จ่ายในการขนส่งเพื่อหาจุดคุ้มทุนในการขนส่งสินค้า เห็ดหลินจือแปรรูปth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเห็ดหลินจือ -- การส่งออกth_TH
dc.subjectเห็ดหลินจือ -- การเพาะเลี้ยงth_TH
dc.subjectเกษตรที่สูงth_TH
dc.titleรูปแบบส่งเสริมการส่งออกเห็ดหลินจือที่ปลูกบนพื้นที่สูงไปสู่ตลาดการค้าประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนth_TH
dc.title.alternativeExport model of highland Lingzhi to China trade marketth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume15th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe study collects qualitative data by conducting in-depth interviews with a total of eight respondents including plant and vegetable exporters, the commercial attaché to China, Department of Foreign Trade personnel, and Department of Export Promotion personnel. Quantitative data is gathered from opinion questionnaires completed by lingzhi mushroom buyers based in four Chinese provinces, namely Chengdu, Xi’An, Guangzhou, and Yunnan. The data gathered shows that dried lingzhi slices are in the highest demand, andthe R3B land route is the best option to have lingzhi mushrooms from the Project exported since it takes the shortest time and incurs relatively low transport costs. To analyse the relationship between key variables in the effectiveness of the R3B land route, multiple linear regression is performed while also factoring in the following variables: 1) the selection of pick-up routes 2) controls on lingzhi mushroom farming 3) dried lingzhi manufacturing process controls 4) storage procedures 5) the most appropriate logistic route 6) relevant rules and regulations of which Thai plant and vegetable exporters must be aware 7) problems or complications caused by the rules and regulations 8) the risks of exporting Thai lingzhi mushroomsth_TH
dc.journalวารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Reviewth_TH
dc.page60-75.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
mba15n2p60-75.pdf526.96 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น