กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4641
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorประกาย วุฒิพิพัฒนพงศ์-
dc.contributor.authorชนิสรา แก้วสวรรค์-
dc.date.accessioned2022-08-08T06:55:44Z-
dc.date.available2022-08-08T06:55:44Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.issn1906-506X-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4641-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยวิธีการวิจัยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เป็นผู้เชี่ยวชาญและมีส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 18 ท่าน และ การสนทนากลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า การขับเคลื่อนนโยบายเพื่อเพิ่มศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก แบ่งออกเป็น 10 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการบริหารจัดการองค์กร ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มให้เกิดความเข้มแข็ง ให้สมาชิกมีรายได้อย่างมั่งคงและยั่งยืน 2) ด้านการวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3) ด้านการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชนทั้งด้านบุคคลากรและการบริหารจัดการ 4) ด้านการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนวิสาหกิจชุมชนที่มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ 5) ด้านการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานของวิสาหกิจชุมชนอย่างสม่ำเสมอ 6) ด้านการรู้จักแบ่งปันและการคืนสู่สังคม 7) ด้านการมีส่วนร่วมของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนทุกคน 8) ด้านการบริหารจัดการผลประโยชน์ให้แก่สมาชิกวิสาหกิจชุมชนอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม 9) ด้านการจัดสวัสดิการให้กับสมาชิกวิสาหกิจชุมชน และ 10) ด้านการบริหารจัดการและโครงสร้างองค์กรth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณะth_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน -- การจัดการ -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectการพัฒนาชุมชน -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.titleรูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeThe public policy model for developing potential of agricultural community enterprise in the Eastern Economic Corridorth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue3th_TH
dc.volume12th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the developing policy that driven to increase the potential of agricultural community enterprises in the Eastern Economic Corridor. A qualitative research model was conducted in-depth interviews of 18 experts and 8 experts for discussions in focus group to confirm research results and exchange other useful ideas. The study results that the developing policy that driven to increase the potential of agricultural community enterprises in the Eastern Economic Corridor divided into 10 areas as 1) Organization management, Promote and develop the group to be strong by giving members a stable and sustainable income. 2) Potential analysis for continuous improvement and development. 3) Promoting and developing the potential of community enterprises in terms of personnel and management. 4) Funding for the establishment of a stable community enterprises fund. 5) Improvement and development of community enterprise standards regularly. 6) Sharing and returning to society. 7) The participation of all community enterprise members. 8) Fair and equal benefits management for community enterprise members. 9) The provision of welfare for members of community enterprises and 10) Management and organizational structure.th_TH
dc.journalวารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and lawth_TH
dc.page369-384.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
politic12n3p369-384.pdf542.52 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น