กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4404
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสราลี สนธิ์จันทร์
dc.contributor.authorวิรัตน์ สนธิ์จันทร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาth
dc.date.accessioned2022-06-06T04:10:40Z
dc.date.available2022-06-06T04:10:40Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4404
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เลขที่สัญญา ๐๐๒/๒๕๖๓th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. การเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันความเสี่ยงของผู้สูงอายุในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2. เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรที่มีผลต่อการเปิดรับสื่อในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันความเสี่ยงของผู้สูงอายุในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมีประชากรเป็นผู้สูงอายุในจังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี และชัยนาท ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 420 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการสำรวจด้วยแบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.91 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงแบบที t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยกาหนดค่าระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างมีการเปิดรับสื่อในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับปานกลาง และกลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติและพฤติกรรมต่อการป้องกันความเสี่ยงในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับมาก 2. ลักษณะประชากรด้านเพศแตกต่างกัน มีผลทำให้การเปิดรับสื่อในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ไม่แตกต่างกัน ส่วนระดับการศึกษา และรายได้ แตกต่างกัน มีผลทำให้การเปิดรับสื่อในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร นา 2019 กับทัศนคติที่มีต่อการป้องกันความเสี่ยงในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร นา 2019 และพฤติกรรมการป้องกันความเสี่ยงในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth_TH
dc.description.sponsorshipคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ - - การสื่อสารth_TH
dc.subjectไวรัสโคโรนาth_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันความเสี่ยงของผู้สูงอายุในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)th_TH
dc.title.alternativeMedia exposure, attitude, and risk prevention behaviors of elderly people towards the situation of the spread of the coronavirus disease 2019 (COVID-19) infectionen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emaillawyer_ohm7@hotmail.comth_TH
dc.author.emailwirats@buu.ac.thth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research aimed 1. to study the media exposure, attitude, and risk prevention behaviors of elderly people towards the situation of the coronavirus disease 2019 (COVID-19 ) infection; 2. to compare the demographics towards the media exposure of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) infection situation; and 3 . to study the relationships between the media exposure, attitude, and risk prevention behaviors of elderly people towards the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19 ) infection situation. The samples were 4 20 elderly participants selected from Ang Thong province, Sing Buri province, and Chai Nat province by using the Non-Probability sampling and the Purposive sampling methodology. This was a quantitative method. The data were collected by using questionnaires with a reliability at 0.91. Quantitative data were analyzed using descriptive statistics such as Independent t-test, One-way ANOVA, and Pearson’s product moment correlation coefficient with the statistically significant at 0.05. The results revealed that 1. The participants opened the media exposure of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) infection situation at the moderate level, while the attitude and the behaviors towards the risk prevention of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) infection situation at the high level. 2. The different gender and the media exposure of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) infection situation were found no significance different, while the different educational level and different income affected the media exposure of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) infection situation with a statistically significance difference. 3. The relationships between the media exposure, attitude, and risk prevention behaviors of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) infection situation had the positive result.en
dc.keywordสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_100.pdf2.11 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น