กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4221
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศศิประภา เกษสุพรรณ์
dc.contributor.authorเสกสรรค์ ทองคำบรรจง
dc.contributor.authorวรากร ทรัพย์วิระปกรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2021-06-22T03:22:02Z
dc.date.available2021-06-22T03:22:02Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4221
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบความเที่ยงตรงของโมเดลการวัดพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตในกลุ่มนิสิตระดับปริญญาตรี 2) วิเคราะห์จัดกลุ่มนิสิตตามประเภทของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตเมื่อจำแนกตามเพศของนิสิตระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพาปีการศึกษา 2561 จำนวน 800 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการวิเคราะห์จัดกลุ่ม และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณด้วยโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลการวัดพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตและโมเดลการวัดความรู้สึกของผู้ถูกกระทำการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตของนิสิตระดับปริญญาตรี มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2= 9.12, X2/ df= 2.28, SRMR= 0.01, RMSEA= 0.04, GFI= 1.00, AGFI= 0.98, CFI= 1.00 และ X2= 2.67, X2/df= 1.33, SRMR= 0.00, RMSEA= 0.02 , GFI= 1.00, AGFI= 0.99, CFI= 1.00 ตามลำดับ) 2) กลุ่มนิสิตที่มีพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตสามารถจัดได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 คนชอบแกล้ง กลุ่มที่ 2 คนไม่ชอบแกล้ง กลุ่มที่ 3 คนชอบแกล้งแต่ไม่ชอบบล็อก และในส่วนของกลุ่มนิสิตที่ถูกกระทำการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตสามารถจัดกลุ่มได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 คนไม่ถูกแกล้ง กลุ่มที่ 2 คนถูกแกล้ง กลุ่มที่ 3 คนถูกแกล้งแต่ไม่ถูกบล็อก 3) พฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อจำแนกตามเพศ และในส่วนของผู้ถูกกระทำการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตก็มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectความแตกต่างทางเพศth_TH
dc.subjectสาขาการศึกษาth_TH
dc.titleการกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต : การวัด การจัดกลุ่ม และความแตกต่างระหว่างเพศของนิสิตระดับ ปริญญาตรีth_TH
dc.title.alternativeCyberbullying : Measurement, clustering and gender’s difference of undergraduate studentsen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume15th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were; 1) to validate the measurement model of Cyberbullying Behavior among undergraduate students. 2) to cluster analysis categories of Cyberbullying Behavior from undergraduate Students 3) to compare of Cyber Bullying Behavior when classify by gender. The samples were eight hundred undergraduate students of Burapha university in 2018. They were recruited by Multi-Stage sampling technique. The tools used in the research were the Cyberbullying questionnaire. The data were analyzed by basic statistics, Exploratory Factor Analysis (EFA), Cluster Analysis, One-way MANOVA using SPSS for Window and the Confirmatory factor analysis (CFA) were analyzed through LISREL version 8.72 Program. The results of the research were found as follows: 1. Cyberbullying Behavior Measurement Model and Cyberbullying of victims Measurement Model among undergraduate Students was fitted with the empirical data (𝜒 2 =9.12, 𝜒 2 / df=2.28, SRMR = 0.01, RMSEA = 0.04, GFI=1.00, AGFI=0.98, CFI=1.00 และ 𝜒 2 = 2.67, 𝜒 2 / df= 1.33, SRMR = 0.00, RMSEA =0.02 , GFI=1.00, AGFI = 0.99, CFI = 1.00) 2. It was found that the undergraduate Students who had Cyberbullying Behavior be grouped into 3 clusters. Cluster 1 was People like bullying. Cluster 2 was people not bullying. Cluster 3 was people like bullying who disliked block. In part of undergraduate Students who had Victims Bullying be grouped into 3 clusters. Cluster 1 was people are not bullied. Cluster 2 was people who were bullied. Cluster 3 was people who were bullied but not block. 3. Cyberbullying Behavior in conducting an experiment differed at the significant level of .01 when classified by gender and in part of Victims Cyberbullying, also differed at the significant level of .01.en
dc.journalวารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคมth_TH
dc.page397-408.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
edusoc15n2p397-408.pdf791.73 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น