กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4169
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสมสิทธิ์ อัสดรนิธี
dc.contributor.authorไพบูลย์ โสภณสุวภาพ
dc.contributor.authorกัญจน์ ทัตติยกุล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะดนตรีและการแสดง
dc.date.accessioned2021-06-16T04:20:09Z
dc.date.available2021-06-16T04:20:09Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4169
dc.description.abstractบนความเชื่อพื้นฐานที่มุ่งความสำคัญไปที่คนและกระบวนการเรียนรู้ของคนเป็นอันดับแรก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษากระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงแนวจิตตปัญญาศึกษาที่มีความเหมาะสมสำหรับการบ่มเพาะผู้ประกอบการทางนิเวศวัฒนธรรมของชุมชนลุ่มแม่น้ำบางปะกง รวมถึงศึกษาศักยภาพของผู้ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าว โดยอาศัยระเบียบวิธีวิจัยแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการเชิงคุณภาพ เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ การสนทนากลุ่ม การจดบันทึก การสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการที่เหมาะสม คือ กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมและผ่านประสบการณ์ตรงที่ต้องประกอบด้วยความสมดุลระหว่างมิติภายในกับมิติภายนอก โดยอาศัยคุณค่า ความหมาย และเจตจำนงของผู้เรียนรู้เป็นตัวนำ ส่วนศักยภาพสำคัญที่พบในตัวผู้เข้าร่วม ได้แก่ การตระหนักอย่างลึกซึ้งในรากเหง้าของชุมชน การเกิดพลังกลุ่ม และการมีพลัง และความเชื่อมั่นในหนทางการสร้างความเข้มแข็งที่ใช้คุณค่าภายในเป็นตัวนำ ขณะที่ผลผลิต หลักของโครงการ คือ พื้นที่ทางวัฒนธรรม 22 จุด และแผนที่ทางวัฒนธรรม 3 เส้นทางth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectนิเวศวัฒนธรรมth_TH
dc.subjectการเรียนรู้th_TH
dc.subjectจิตตปัญญาศึกษาth_TH
dc.subjectผู้ประกอบการth_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.titleกระบวนการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงแนวจิตตปัญญาศึกษาเพื่อบ่มเพาะผู้ประกอบการทางนิเวศวัฒนธรรมของชุมชนลุ่มแม่น้ำบางปะกงth_TH
dc.title.alternativeThe contemplation-oriented transformative learning facilitation for cultivating eco-cultural entrepreneurs of the Bang Pakong Communitiesen
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume28th_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeWith the basic assumption to give a priority to human beings and their learning process, this research aimed to investigate the contemplation-oriented transformative learning facilitation appropriate for the cultivation of eco-cultural entrepreneurs of the Bang Pakong communities as well as to study their capabilities found after the completion of the program. The methodology used was action research; and data were collected and analyzed qualitatively; using focus group interview, journaling, non-participant observation, and in-depth interview as research tools. The results revealed that the appropriate learning process was found to be a participatory and experiential one, with a good balance between inner and outer practices; whilst values, meanings, and intents were prioritized over other things. Meanwhile, crucial capabilities developed in participants were deep realization upon root empowerment of the communities, team cohesion, and inspiration and faith in value driven action. As the major outputs, the project yielded 22 spots of cultural space and three different cultural maps.en
dc.journalวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.page265-294.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
huso28n2p265-294.pdf941.03 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น