กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3937
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา-
dc.date.accessioned2020-07-31T01:27:39Z-
dc.date.available2020-07-31T01:27:39Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3937-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาห่วงโซ่คุณค่าการผลิตทุเรียนในภาคตะวันออกของประเทศไทยโดยเน้นการให้บริการทางการเงินภายในห่วงโซ่ การเก็บข้อมูลของการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการหลากหลาย ข้อมูลเชิงปริมาณได้จากแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างชาวสวนทุเรียนจำนวน 369 ราย ในจังหวัดจันทบุรี ข้อมูลเชิงคุณภาพมาจากการจัดสนทนากลุ่มย่อยและการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มตัวอย่าง ผลการศึกษาสำคัญ พบว่า ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกทุเรียนรายใหญ่ที่สุดในโลก ประมาณร้อยละ 80 ของผลผลิตเป็นการส่งออก ในจำนวนนี้ร้อยละ 60 ส่งออกไปประเทศจีนซึ่งเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่ที่สุด รายได้จากการปลูกทุเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงทศวรรษปัจจุบันสืบเนื่องจากความต้องการที่สูงของประเทศจีน อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการจีนเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในห่วงโซ่อุปทานทุเรียนไทย ส่งผลให้ผู้ค้าผลไม้ไทยไม่สามารถแข่งขันในการรับซื้อทุเรียนและผลไม้อื่น ดังนั้น สัดส่วนจำนวนผู้ค้าไทยลดลงจากร้อยละ 40 เหลือร้อยละ 20 ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ชาวสวนทุเรียนและผู้ค้าไทยมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบด้านลบจากการขยายอิทธิพลของผู้ค้าจีนโดยการกดราคารับซื้อเพื่อให้ธุรกิจจีนทำกำไรจากส่วนต่างราคาได้มากขึ้น การแสวงหาตลาดส่งออกใหม่ที่มีศักยภาพและการสนับสนุนทางการเงินกับสหกรณ์การเกษตรเป็นสิ่งที่ควรทำเพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าให้กับเกษตรกรth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectทุเรียนth_TH
dc.subjectสินค้าเกษตรth_TH
dc.subjectผู้ประกอบการth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleแนวทางการจัดหาเงินทุนในห่วงโซ่คุณค่าของการผลิตทุเรียนในภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeValue Chain Financing Approach for the Durian Sub-sector in the Eastern Region of Thailandth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailSasiwooth@buu.ac.thth_TH
dc.year2563th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research examines the value chain of durian production in the Eastern region of Thailand with an emphasis on financial services within the value chain participants. Multiple methods are used to collect data in this study. The quantitative data are obtained from the survey, consisting of 369 durian farmers in Chanthaburi province. The qualitative data are collected from focus-group discussions and in-depth interviews. The main results show that Thailand is the largest exporter of fresh durian in the world. Approximately 80 percent of durian production are exported, of which 60 percent to China−the largest export market. Durian farm income has substantially increased over the recent decade mainly due to soaring demand in China. However, Chinese entrepreneurs have expanded their roles to Thai durian supply chain. In effect, Thai traders cannot compete with them in buying durians and other fruits from farmers; therefore, the proportion of Thai traders have declined from 40 percent to 20 percent over the past five years. Thai durian farmers and traders are likely to be adversely affected by the dominance of Chinese traders in lowering prices paid to farmers in order to widen the profit margin. Ascertaining potential new export markets and financial assistance to agricultural cooperatives would be recommended so as to increase distribution channels for farmers.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_082.pdf873.66 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น