กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3818
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธราธร บุญศรี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2020-03-29T12:52:41Z
dc.date.available2020-03-29T12:52:41Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3818
dc.description.abstractในปัจจุบันยาปฏิชีวนะมีจำนวนมากมายหลายชนิดส่งผลให้เภสัชกรหรือผู้ดูแลร้านขายยาไม่สามารถระบุชนิดของยาที่ผู้ป่วยนำมาได้ทุกประเภททำให้เกิดความผิดพลาดในการจ่ายยาที่ผิดให้กับผู้ป่วยได้ ในโครงงานนี้ได้พัฒนาเครื่องตรวจจับและพิสูจน์เอกลักษณ์ยาเพื่อช่วยในการจัดจำแนกชนิดยา โดยจะประกอบด้วยกันอยู่ 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนของฮาร์ดแวร์ คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการบันทึกภาพเม็ดยาประกอบด้วย วงจรการปรับความสว่างแสง เซนเซอร์วัดความเข้มของแสง รวมไปถึงกล้องที่ใช้ในการถ่ายภาพ โดยอุปกรณ์ได้พัฒนาเพื่อให้สามารถสั่งการทำงานได้ผ่านหน้าจอทัชสกรีนทั้งการถ่ายภาพเม็ดยาและการปรับความสว่างของหลอดแอลอีดี ในส่วนของซอฟต์แวร์โปรแกรมในการจำแนกลักษณ์ด้วยโปรแกรม HALCON ซึ่งจะจำแนกประเภทของยาปฏิชีวนะจาก รูปทรง ขนาด และสีของเม็ดยา ด้วยวิธีการประมวลผลภาพโดยใช้การกำหนดค่าเทรสโฮลด์เพื่อแยกภาพเม็ดยาออกจากพื้นหลังและทำการอ่านค่าพารามิเตอร์ของเม็ดยาผ่านโปรแกรม HALCON เมื่อได้ค่าพารามิเตอร์ที่ต้องการใช้แล้วจึงทำการเปลี่ยนโปรแกรม HALCON เป็นภาษาคอมพิวเตอร์พื้นฐานแล้วนำมาพัฒนาต่อในระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ เพื่อเตรียมทำเป็นโปรแกรมเปรียบเทียบลักษณะยากับฐานข้อมูลโดยผ่านเว็บ API แล้วแสดงผลเป็นชื่อยาออกทางหน้าจอทัชสกรีนที่ต่ออยู่กับ Raspberry Pi 3 โดยการเปรียบเทียบลักษณะยานั้นจะกำหนดให้ค่าความเหมือนของทุกพารามิเตอร์ เมื่อเทียบกับฐานข้อมูลต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 80 เปอร์เซ็นต์จึงจะระบุชื่อยาให้ผู้ใช้ทราบ จากการทดลองพบว่าระบบสามารถจำแนกยาปฏิชีวนะจำนวน 32 ชนิดได้อีกทั้งยังมีความแม่นยำและความถูกต้อง 95.70-99.99 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นค่าที่สูงเหมาะสำหรับนำมาใช้งานในด้านเภสัชกรรมth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการประมวลผลภาพth_TH
dc.subjectแบบจำลองสีth_TH
dc.subjectยาเม็ดth_TH
dc.subjectยาแคปซูลth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดตรวจจับและพิสูจน์เอกลักษณ์ยารูปแบบเม็ดและแคปซูลอัตโนมัติชนิดพกพาth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Automatic Portable Drug Identification Machineen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailtharathorn@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeAt present, many antibiotics cause the pharmacist or assistant not to be able to identify the type of medication taken by a patient leading to errors in the drug delivery to patients. Therefore, this project has developed an equipment, which consists of two parts: the hardware and software, to detect and identity antibiotics. The hardware is the component to capture drug images, which consists of a brightness adjustment circuit, a light sensor, and a camera to take antibiotics images. The results are displayed on a touchscreen. For the software, HALCON program is used to distinguish and classify antibiotic based on the size, shape and color of the tablets. The threshold was selected by image processing theory to separate tablet images from the background. Then important parameters are obtained from HALCON program. After that, HALCON program is converted into a basic computer language and the obtained result is processed in Linux operating system to compare with the result in database through the API (Application Program Interface). The name of antibiotic is displayed on the touchscreen connected with Raspberry Pi 3. By comparing the parameters of the drug, the similarity of parameters between the sample drug and database must be greater than or equal to 80 percent. The system can identify 32 antibiotics and the accuracy varies in the range 95.70-99.99 percent, which is high for using in pharmacyen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_320.pdf4.97 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น