กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3813
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอรสุรางค์ โสภิพันธ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร
dc.date.accessioned2020-03-28T11:32:00Z
dc.date.available2020-03-28T11:32:00Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3813
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของวัสดุเหล็กบนตัวรองรับซีโอไลต์ฟูจาไซต์ต่อประสิทธิภาพการดูดซับสารละลายไกลโฟเซต โดยซีโอไลต์ฟูจาไซต์ 2 ชนิด ได้แก่ ซีโอไลต์โซเดียมเอกซ์ (NaX) และซีโอไลต์โซเดียมวาย (NaY) ซึ่งทำการสังเคราะห์ด้วยวิธีไฮโดรเทอร์มัลโดยใช้ซิลิกาจากเถ้าชานอ้อยเป็นสารตั้งต้น จากนั้นทำการเติมเหล็ก (Fe) ลงบนซีโอไลต์ทั้งสองชนิดปริมาณ 1 3 และ 5 เปอร์เซ็นต์โดยมวลด้วยวิธีการเอิบชุ่ม เอกลักษณ์ทางโครงสร้างและธาตุองค์ประกอบของวัสดุดูดซับที่เตรียมได้วิเคราะห์ด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์และเทคนิคฟลูออเรสเซนต์ พื้นที่ผิวของวัสดุดูดซับวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการวัดไอโซเทอร์มการดูดซับไนโตรเจน โครงสร้างอสัณฐานของวัสดุดูดซับตรวจวัดด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดชนิดฟิลด์อิมิสชันและค่าพีเอชที่ประจุพื้นผิววัสดุดูดซับเป็นศูนย์วิเคราะห์ด้วยวิธี pH Drift method โดยวัสดุเหล็กบนซีโอไลต์โซเดียมเอกซ์ (xFe/NaX) และวัสดุเหล็กบนซีโอไลต์โซเดียมวาย (xFe/NaY) ใช้เป็นวัสดุดูดซับสารละลายไกลโฟ โดยทำการวิเคราะห์ ปริมาณไกลโฟเซตด้วยวิธีคัลเลอรีเมตรีและวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเทคนิคยูวี-วิสิเบิลสเปกโตรสโคปี จากการทดลองพบว่า ซีโอไลต์ NaX มีประสิทธิภาพการดูดซับไกลโฟเซตสูงกว่าซีโอไลต์ NaY เนื่องจากประจุบวกบนพื้นผิวหน้า NaX ที่สามารถดึงดูดกับประจุลบของโมเลกุลไกลโฟเซต เมื่อทำการเติมเหล็กลงบนซีโอไลต์ทั้งสองชนิดพบว่าพื้นที่ผิวหน้า ปริมาตรรูพรุน และค่าพีเอชที่ประจุพื้นผิววัสดุดูดซับเป็นศูนย์มีค่าลดลง โดย xFe/NaX มีประสิทธิภาพในการดูดซับสารละลายไกลโฟเซตไม่แตกต่างกันเมื่อปริมาณโลหะเหล็กเพิ่มขึ้น ในทางตรงกันข้ามกันสำหรับ xFe/NaY ประสิทธิภาพในการดูดซับสารละลายไกลโฟเซตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อปริมาณโลหะเหล็กเพิ่มขึ้น จากการศึกษาไอโซเทอร์มการดูดซับของเหล็กลงบนซีโอไลต์ทั้งสองพบว่าเป็นแบบฟรอยลิช โดย 5Fe/NaY มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด มีค่าขีดความสามารถในการดูดซับไกลโฟเซต (KF =) สูงที่สุด เกิดการดูดซับเป็นแบบหลายชั้นth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectชานอ้อยth_TH
dc.subjectชีวมวลth_TH
dc.subjectซิลิกาth_TH
dc.titleการสังเคราะห์เมมเบรนคอมโพสิทของเหล็กบนตัวรองรับซีโอไลต์ฟูจาไซต์กับโพลีเอไมด์แผ่นบางสำหรับการดูดซับสารไกลโฟเซตth_TH
dc.title.alternativeSynthesis of iron loaded zeolite Faujasite – polyamide thin film composite membrane for glyphosate adsorptionen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailonsulang_111@hotmail.comth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research studied the influence of Fe loaded zeolite faujasite on glyphosate adsorption efficiency. Zeolite Faujasite including zeolite NaX and zeolite NaY were synthesized through a hydrothermal method using silica from bagasse ash as substance. Then Fe was loaded onto the zeolites with 1, 3 and 5 %w/w by incipient wetness impregnation. The structural identification and chemical compositions of adsorbents were analyzed by X-ray diffraction techniques and X-ray fluorescence techniques. The surface area of adsorbents was analyzed by N2 adsorption-desorption isotherm. The morphology of adsorbents was measured by field emission scanning electron microscope. pHpzc of adsorbents was analyzed by pH Drift method. The xFe/NaX and xFe/NaY were used as glyphosate adsorbents. The glyphosate analysis was performed by colorimetric method and detected by UV-Visible spectroscopy. From the results, NaX had higher adsorption efficiency than NaY. It was probably due to a higher positive charge of NaX which could interact with glyphosate anion. Addition of Fe onto both zeolites could decrease surface area, pore volume and pHpzc. For xFe/NaX series, the glyphosate adsorption efficiency was not significantly different with increasing Fe loading. In contrast with xFe/NaY series, the glyphosate adsorption efficiency was increased with increasing Fe loading. From the absorption isotherm study, the adsorption process was followed Freundlich isotherm for all absorbents. 5Fe/NaY had highest adsorption capacity (KF). The multilayer adsorption was found.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_329.pdf1.69 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น