กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2636
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorชัชวิน เพชรเลิศ
dc.contributor.authorสุพัตรา รอมลี
dc.contributor.authorพรรณารัตน์ เกลื้อนสม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:16:10Z
dc.date.available2019-03-25T09:16:10Z
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2636
dc.description.abstractผงกะหรี่ยี่ห้อไอเชฟ ปืนไขว้เลิศรส แก้วตาและถังทอง รวมทั้งผงพะโล้ยี่ห้อโลโบ ปืนไขว้ง่วนสูน รสดีและคะนอร์ถูกนํามาตรวจสอบฤทธิ์การกําจัดอนุมูล DPPH ความสามารถในการคีเลทโลหะ และหาปริมาณฟีนอลและฟลาโวนอยด์รวม พบว่าผงกะหรี่ยี่ห้อถังทองยับยั้งอนุมูล DPPH ได้ดีที่สุดถึง 98.94% ส่วนผงพะโล้ยี่ห้อง่วนสูนยับยั้งอนุมูล DPPH ได้ดีที่สุดถึง 99.07% (IC50 ของผงกะหรี่ยี่ห้อ ถังทอง ผงพะโล้ยี่ห้อง่วนสูน เท่ากับ 0.43±0.03 และ 0.51±0.01 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ) นอกจากนี้ พบว่าความสามารถในการคีเลทโลหะเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของสารละลายตัวอย่าง โดยผงกะหรี่ยี่ห้อปืนไขว้ และผงพะโล้ ยี่ห้อโลโบมีความสามารถในการคีเลทโลหะมากที่สุดโดยมีค่า IC50 เท่ากับ 0.23±0.02 และ 1.38±0.04 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ เมื่อทําการหาปริมาณฟีนอลรวมพบว่า ผงกะหรี่ยี่ห้อเลิศรสมีปริมาณสูงที่สุด (689.82±0.004 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อมิลลิกรัมของตัวอย่าง) และในการหาปริมาณฟลาโวนอยด์รวมพบว่า ผงกะหรี่ยี่ห้อถังทองมีปริมาณมากที่สุดคือ 229.1±0.03 มิลลิกรัมสมมูลของเควอร์เซตินต่อมิลลิกรัมของตัวอย่าง จากการศึกษาครั้งนี้ทําให้ทราบว่าผงเครื่องเทศมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระจึงนำ จะถูกนํามาใช้เพื่อการส่งเสริมสุขภาพได้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectดีพีพีเอชth_TH
dc.subjectปริมาณฟลาโวนอยด์th_TH
dc.subjectปริมาณฟีนอลth_TH
dc.subjectผงเครื่องเทศth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.titleฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของผงเครื่องเทศ (ผงกะหรี่และผงพะโล้) บางชนิด จากตลาดทองถิ่นในจังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeAntioxidant activity of some commercial spice powders (curry and pa-lo powders) from local markets at Chon Buri provinceen
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issueฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่ 6
dc.volume19
dc.year2557
dc.description.abstractalternativeCurry powders from i-chef, Waugh, Lerdros, Kaewta, Tangthong and pa-lo powders from Lobo, Waugh, Nguan-soon, Rosdee and Knorrwere investigated the antioxidant capacities using 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) scavenging assay; metal chelating activity; total phenolic and total flavonoidcontents. The results demonstrated that curry powder brands tangthong and pa-lo powder brands nguan-soon showed the highest DPPH scavenging activity by 98.94% and 99.07%, respectively (IC50 of tangthong and nguan-soon were 0.43±0.03 and 0.51±0.01 mg/ml, respectively). Moreover, the metal chelating activity of curry and pa-lo powders increased in dose-dependent manner. We found the curry powder (Waugh) and pa-lo powder (Lobo) showed the maximum metal chelating activity (IC50 of Waugh and Lobo were 0.23±0.02 and 1.38±0.04 mg/ml, respectively). High total phenolic content of curry powder (Lerdros) was observed (689.82±0.004 mg gallic acid equivalent/mg sample). Total flavonoid content was greatly found in curry powder (Tangthong) by 229.1±0.03 mg quercetin equivalent/mg sample. This research implied that spice powders from local markets can possess remarkable antioxidant activity and use as the information for consumer in order to promote the better health.en
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal
dc.page97-103.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
97-103.pdf820.17 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น