กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2201
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์
dc.contributor.authorปกรณ์ มณีปกรณ์
dc.contributor.authorกัญญา อึ้งเจริญวงศ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:12:46Z
dc.date.available2019-03-25T09:12:46Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2201
dc.description.abstractบทความเรื่อง คุณภาพชีวิตภายใต้การได้รับสวัสดิการของผู้ต้องขัง: กรณีศึกษาเรือนจำกลางเพชรบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการได้รับสวัสดิการและคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังภายใต้การได้รับสวัสดิการตลอดจนศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับสวัสดิการของผู้ต้องขังกับระดับคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังเรือนจำกลางเพชรบุรี การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ต้องขังเรือนจำกลางเพชรบุรี จำนวน 333 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์หาค่าทีเทส (t-Test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โยวิธีการเชฟเฟ่ (Scheffe) และทดสอบสมมติฐาน โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 88) อายุ 20-30 (ร้อยละ 48.6) ก่อนต้องโทษประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 56.2) ก่อนต้องโทษได้รับการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา (ร้อยละ 46.5) แต่เมื่อเข้ามาอยู่ภายในเรือนจำนั้นไม่ได้รับการศึกษาเพิ่มเติม (ร้อยละ 63.7) มีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด (ร้อยละ 66.7) ระยะเวลาที่ถูคุมขังอยู่ในเรือนจำ 1-3 ปี (ร้อยละ 51.7) และระยะเวลาต้องโทษตามคำพิพากษา 4-7 ปี (ร้อยละ 45.9) เป็นนักโทษชั้นกลาง (ร้อยละ 45.8) ส่วนที่ยังไม่พิพากษาและยังไม่ได้แบ่งชั้น (ร้อยละ 6.9) 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้รับสวัสดิการของผู้ต้องขังโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.152) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการรักษาพยาบาล ได้รับสวัสดิการอยู่ในระดับมาก (X ̅ = 3.713) รองลงมาคือด้านกีฬาและนันทนาการ ได้รับสวัสดิการอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.192) ด้านการศึกษาได้รับสวัสดิ์การอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.017) ด้านสวัสดิการพื้นฐาน (ปัจจัยสี่) ได้รับสวัสดิการอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 2.922) และด้านอนามัยผู้ต้องขัง ได้รับสวัสดิการอยู่ในระดับด้วยปานกลาง (X ̅ = 2.905) ตามลำดับ 3. กลุ่มตัวอย่าง ได้รับสวัสดิการของผู้ต้องขังโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.209) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านจิตใจอยู่ในละดับปานกลาง (X ̅ = 3.314) รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม อยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.305) ด้านสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.186) และ ด้านร่างกายอยู่ในระดับปานกลาง (X ̅ = 3.032) ตามลำดับ 4. ผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า การได้รับสวัสดิการและคุณภาพชีวิตภายใต้การได้รับสวัสดิการของผู้ต้องขังทั้งโดยภาพรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์กันth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตth_TH
dc.subjectนักโทษ - - การสงเคราะห์th_TH
dc.subjectสังคมสงเคราะห์th_TH
dc.subjectสาขาสังคมวิทยาth_TH
dc.subjectเรือนจำกลางเพชรบุรีth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตภายใต้การได้รับสวัสดิการของผู้ต้องขัง กรณีศึกษา: เรือนจำกลางเพชรบุรีth_TH
dc.typeบทความวารสารth_TH
dc.issue3
dc.volume4
dc.year2555
dc.description.abstractalternativeThe study entitled “The Quality of Life under Welfare Benefits to Prisoners: A Case Study of Phetchaburi Central Prison” aimed to examine the quality of life under welfare benefits for prisoners and the relationship between welfare benefits and prisoners’ quality of life in Phetchaburi. The current study is survey research. The subjects participating in the study consisted of 33 prisoners in Phetchaburi. The research instrument included questionnaire, which found evidence for reliability (0.96). The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-way ANOVA, the pair comparison Scheffe’s multiple contrasts and pearson correlation. The results of this research were as following: 1. The majority of subjects was male whose age ranged from 20 to 30 years old (88 percent). Before being capture, 56.2 percent of them were employees and 46.5 percent of them studied in high school. They, however, did not study further when they were in prison. 66.7 percent of subjects were accused of illegal drug and they were held in the prison around one to three years (51.7 percent). 45.8 percent of them were moderate prisoners and 6.9 percent of them were not sentenced in prison and were not arranged into group. 2. The level of obtaining welfare among the subject was mediocre (X ̅ = 3.152). Considering each area, it appeared that they received high medical fee welfare (X ̅ = 3.713). The level of welfare about sport and recreation (X ̅ = 3.192). education (X ̅ = 3.017), fundamental needs (X ̅ = 2.995), sanitation (X ̅ = 2.905) were mediocre, respectively. 3. The overall quality of life’s level under welfare benefits for prisoners was mediocre (X ̅ = 3.209). The level regarding mental health, (X ̅ = 3.31), social interaction (X ̅ = 3.305), environment (X ̅ = 3.186) and physical health (X ̅ = 3.032) are mediocre, respectively. 4. According to hypothesis testing, there was a significant relationship between welfare benefits and prisoners’ quality of life.en
dc.journalวารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of Politics, administration and Law
dc.page309-330.
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
309-330.pdf1.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น