กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2041
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกวีญา สินธารา
dc.contributor.authorธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง
dc.contributor.authorอรวีย์ อิงคเตชะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2041
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้า และการทรงตัวในผู้สูงอายุ ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-69 ปี จำนวน 296 คน ผู้เข้าร่วมการวิจัยได้รับการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักเพื่อหาค่าดัชนีมวลกาย (BMI) วัดค่าดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้า (AHI) โดยใช้เครื่องมือวัดความสูงของโค้งฝ่าเท้า (AHIMD) ขณะนั่ง (ลงน้ำหนักร้อยละ ๑๐ ของน้ำหนักตัว) ขณะยืน (ลงน้ำหนักร้อยละ 50 ของน้ำหนักตัว) และขณะยืนขาเดียว (ลงน้ำหนักร้อยละ 90 ของน้ำหนักตัว) และทดสอบการทรงตัวโดยการยืนขาเดียว (Unipedal stance test) ทั้งขณะลืมตาและหลับตาดัชนีมวลกายมีความสัมพันธ์แบบแปรผันตามกับดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าซ้ายและขวาเมื่อลงน้ำหนักร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัว แต่ดัชนีมวลกายมีความสัมพันธ์แบบผกผันกับการทรงตัวขณะลืมตา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การทรงตัวขณะลืมตามีความสัมพันธ์แบบแปรผันตามกับดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าขวาเมื่อลงน้ำหนักร้อยละ 90 ของน้ำหนักตัวอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการทรงตัวขณะหลับตามีความสัมพันธ์แบบแปรผันตามกับดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าซ้ายเมื่อลงน้ำหนักร้อยละ 50 และ 90 ของน้ำหนักตัว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าในผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-69 ปี ดัชนีมวลกาย ดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้า และการทรงตัว มีความสัมพันธ์กันth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการทรงตัวth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์th_TH
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้า และการทรงตัวในผู้สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between body mass index, arch height index and balance in aged peopleen
dc.typeResearch
dc.author.emailkawiya@buu.ac.th
dc.author.emaildhammanunthika@buu.ac.th
dc.author.emailonwaree@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate the correlation among body mass index, arch height index, and balance in aged people. 296 subjects, aged 60-69 years participated in descriptive study. The subjects were evaluated body mass index (BMI) by measuring height and weight. Arch height index (AHI) of the feet of individuals was measured using AHI measurement device (AHIMD). AHI was measured in the position of sitting (10% body weight), standing (50% body weight), and one-leg standing (90% body weight). In addition, the participants were measured balance using the unipedal stance test in the condition of opened eyes and closed eyes. The results showed that BMI was significantly correlated with AHI in the position of sitting. However, there was significant inverse correlation between BMI and balance in the opened eyes condition. Our results also showed that balance in the opened eyes condition was significantly correlated with AHI of the right side in the position of one-leg standing. There was statistically significant correlation between balance in the closed eyes condition and AHI of the left side in the positions of standing and one-leg standing. These results indicated that in the elderly people aged 60-69 years, there were correlation among BMI, AHI, and balanceen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2563_036.pdf763.78 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น