กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1107
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวรเทพ มุธุวรรณth
dc.contributor.authorเสาวภา สวัสดิ์พีระth
dc.contributor.authorประหยัด มะหมัดth
dc.contributor.authorปรารถนา ควรดีth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:01:16Z
dc.date.available2019-03-25T09:01:16Z
dc.date.issued2536
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1107
dc.description.abstractอาหารมีชีวิตนับว่าเป็นปัจจัยสำคัญ ในการกำหนดความสำเร็จของการอนุบาลลูกปลาหมึกให้มีชีวิตรอด ทั้งนี้เนื่องจากปลาหมึกเป็นสัตว์กินเนื้อที่มีพฤติกรรมเลือกกินอาหารที่มีชีวิตในการทดลองนี้ ต้องการที่จะหาอาหารมีชีวิตชนิดอื่นที่หาได้ง่าย มาทดแทนการอนุบาลหรือใช้ช่วยเสริมในการอนุบาลลูกปลาหมึก แทนการอนุบาลด้วยเคยตาดำ โดยการใช้ไรน้ำเค็มตัวเต็มวัย ที่นำมาเลี้ยงด้วยอาหารต่างชนิดกัน เพื่อเพิ่มคุณค่าทางอาหารที่จำเป็นให้กับไรน้ำเค็มก่อนนำไปอนุบาลลูกปลาหมึก อาหารที่ใช้เลี้ยงไรน้ำเค็ม ได้แก่ สาหร่ายเตตราเซลมิส (Tetraselmis helle) สไปรูลินาแห้ง น้ำรำ น้ำมันตับปลา อาหารเทียม (microencapsulated feed) เปรียบเทียบกับการอนุบาลด้วยเคย โดยอนุบาลลูกหมึกกระดองที่มีความหนาแน่น 1,000 ตัวต่อตัน ในตู้กระจกที่ความจุน้ำ 30 ลิตร จำนวน 3 ซ้ำในแต่ละชุดทดลอง ให้อาหารวันละ 2 เวลา เช้าและเย็น เปลี่ยนถ่ายน้ำวันละ 25 เปอร์เซ็นต์ วัดและวิเคราะห์คุณภาพน้ำทุก 7 วัน เมื่อลูกหมึกอายุได้ 31 วัน ชั่ง วัด และนับจำนวนลูกหมึกที่เหลือรอดอยู่ทั้งหมด ผลการทดลองลูกหมึกมีอัตรารอดและอัตราการเจริญเติบโตสูงสุด ในชุดที่อนุบาลด้วยเคย โดยมีอัตรารอดเฉลี่ย84.4 10.3 % ส่วนกลุ่มที่เลี้ยงด้วยไรน้ำเค็มที่เลี้ยงด้วยอาหารต่างกัน พบว่ากลุ่มที่เลี้ยงด้วยไรน้ำรำ น้ำมันตับปลา หรืออาหารเสริม ให้อัตรรอดที่ไม่แตกต่างกัน (P<0.05) โดยมีอัตรารอดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 43.3-44.4 % ส่วนกลุ่มที่อนุบาลด้วยไรน้ำเค็ม ที่เลี้ยงด้วย เตตราเซลมิส หรือสไปรูลิน่า ให้อัตรารอดต่ำสุด โดยมีอัตรารอดเฉลี่ย 25.0 และ 26.7 % ตามลำดับ และพบว่าอัตราการเจริญเติบโต(ความยาวลำตัว)ของลูกปลาหมึก ที่อนุบาลด้วยไรน้ำเค็มทุกชุดทดลอง ไม่มีความแตกต่างกัน(P<0.05) จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าถึงแม้การใช้ไรน้ำเค็มตัวเต็มวัยจะให้ผลในการอนุบาลไม่ดีเท่าการใช้เคยก็ตาม แต่สามารถที่จะใช้ในการอนุบาลได้ และชนิดของอาหารที่ใช้เลี้ยงไรน้ำเค็มก็มีผลต่ออัตรารอดของลูกปลาหมึกth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปลาหมึก - - การเลี้ยง - - วิจัยth_TH
dc.subjectปลาหมึก - - อาหาร - - วิจัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล - - วิจัยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
dc.titleการทดลองอนุบาลลูกปลาหมึกกระดองก้นไหม้ Sepiella inermis fer.& d'Orb. ด้วยไรน้ำเค็มตัวเต็มวัยที่เลี้ยงด้วยอาหารต่างชนิดกันth_TH
dc.title.alternativeRearing of spineless cuttlefish, sepiella inermis fer, & d' orb. with adult brine shrimp, artemia salina fed with various kinds of feeden
dc.typeResearch
dc.year2536
dc.description.abstractalternativeAdult Brine shrimp(Artemia salina) fed with various kinds of feed, Twtrasalmis helle, Spirulina sp.(powder), rice bran, cod liver oil or microencapsulated feed were used to feed cuttlefish larvae(Sepiella inermis) compare to those fed with Mysis shrimp(Mesopodopsis spp.). Cuttlefish larvae were stocked at density of 1,000 larvae per ton in 30 litres’s aquariums at period of 31 days. Twenty percent of water was changed daily and some water quality parameters were measured weekly. At 31 days, each cuttlefish was weighed and measured(body length). The remainder in each treatment was count to estimated the survival rate. Cuttlefish larvae fed with Mysis shrimp showed the highest growth and survival rate which average survival rate of 84.4 %. Cuttlefish larvae fed with adult Artemia which enriched with various kinds of feed are not give any significant difference between treatments but in survival rate. The highest survival rate was found in group of cuttlefish fed with rice bran, cod liver oil or microencapsulated feed enriched Artemia with average survival rate between 43.3-44.4 %. The lowest survival rate was 25.0 and 26.7 % which found in cuttlefish fed with Tetraselmis helle or Spirulina sp. Enriched Artemia, respectively. The experiment showed that adult Artemia can be used as cuttlefish larvae feed and survival rate of cuttlefish larvae can be improved by enriched feed.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น