กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10207
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorยุวดี รอดจากภัย
dc.contributor.advisorปาจรีย์ อับดุลลากาซิม
dc.contributor.advisorอลิสรา วงศ์สุทธิเลิศ
dc.contributor.authorจุฑาทิพย์ โพธิ์สุวรรณ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:56:44Z
dc.date.available2023-09-18T07:56:44Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10207
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้แบ่งระยะของการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไอโอดีนสูงกับโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษชนิด Graves เปรียบเทียบกับคนที่มีสุขภาพดีในจังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2562 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2563 ด้วยแบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไอโอดีนสูงวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Multiple logistic regression และระยะที่ 2 ศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไอโอดีนสูงประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองรูปแบบออนไลน์ในผู้ป่วยโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษชนิด Graves ที่ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 30 คน ก่อนและหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน 2564 เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ประกอบด้วยความรู้การรับรู้ความสามารถตนเองความคาดหวังผลลัพธ์และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไอโอดีนสูงวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ paired t-test ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ ชนิด Graves มีความรู้เรื่องอาหารที่มีไอโอดีนสูงน้อยกว่าและมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไอโอดีนสูงบ่อยกว่าผู้ที่มีสุขภาพดี (p<0.001)
dc.language.isoth
dc.publisherคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectต่อมไทรอยด์ -- โรค
dc.subjectพฤติกรรมการบริโภค
dc.subjectไอโอดีน
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.titleผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีไอโอดีนสูงในผู้ป่วยโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษชนิ Graves ในพื้นที่ที่มีไอโอดีนเพียงพอ
dc.title.alternativeEffects of behviorl modifiction progrm on high iodine food consumption mong ptients with grves’ disese in iodine sufficient re
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study separated into two phases. Phase I aimed to investigate the association between knowledge and behavior of high-iodine food and Graves’ disease. A case-control study was performed among patients with Graves’ disease and healthy participants 400 people in Chon Buri, using cluster random sampling from November 2019 to November 2020. Data on iodine-rich food consumption and knowledge were collected using a questionnaire. Data were analyzed using multiple logistic regression. Phase II aimed to examine the effects of behavioral changed program of high-iodine food consumption, based on self-efficacy theory, among 30 patients with Graves’ disease from purposive sampling, pre- and post-test comparison after 4 weeks during March to April 2021. After derived the learning media in this program, data on knowledges, self-efficacy, selfexpectation, and iodine-rich food consumption were collected using a questionnaire, and then were analyzed using paired t-test. Patients with Graves’ disease significantly less knew of high-iodine food than the control group (p<0.001).
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
59810043.pdf2.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น