กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10073
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorทักษญา สง่าโยธิน
dc.contributor.authorลลดาภัทร หมั่นกลาง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-09-18T07:51:13Z
dc.date.available2023-09-18T07:51:13Z
dc.date.issued2563
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10073
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงตัวแปรที่มีอิทธิพลกับรูปแบบในการบริหารจัดการองค์กรของ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทย (กรณีศึกษา บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)) โดยได้ศึกษาถึงมุมมอง ของผู้บริหารระดับส่วน และศึกษามุมมองของพนักงานที่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบในการบริหารจัดการ องค์กรของอุตสาหกรรมโทรคมนาคม โดยเป็นการศึกษาวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณกับการวิจัยเชิงคุณภาพ สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกับ ผู้บริหารระดับส่วนของบริษัทชั้นนำทางด้านอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งได้แก่ บริษัท โทเทิ้ล แอ็ค เซ็สคอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือดีแทค บริษัทเอไอเอส จำกัด (มหาชน) และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) จำนวน 13 คน ส่วนการศึกษาเชิงปริมาณ ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ (Non-probability sampling) โดยใช้การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive selection) ซึ่งเป็นการเลือกกลุ่มที่ผู้วิจัยใช้เหตุผลในการเลือกเพื่อความเหมาะสมในการวิจัย โดยเก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพนักงานในบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) จำนวน 450 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมเป็นแบบสอบถาม 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้องระหว่างแบบสอบถามกับเนื้อหามีค่า IOC = 1.00-0.91 และมีค่าความเที่ยง = 0.88 โดยทำการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติในการหา คุณภาพเครื่องมือด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อทดสอบสมมติฐานในการวิจันั้น ผลจากการวิจัยพบว่า 1. ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์รูปแบบในการบริหารจัดการองค์กร ที่ผู้วิจัยได้ศึกษามาทำให้พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัม พันธ์ (R) = 0.68 มีค่าสัมประสิทธิ์การกำหนด (R2 ) = 0.473 ที่สามารถร่วมพยากรณ์ปัจจัยสู่ความสำเร็จ(การเติบโตของธุรกิจ) ในภาพรวม ได้ร้อยละ 0.473 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ 0.247 และตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อปัจจัยสู่ความสำเร็จมากที่สุด คือ ด้านความผูก พันกับองค์กร เนื่องจากมีค่า Beta มากที่สุด 0.483 2.สรุปผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีสัมภาษณ์เชิงลึก สามารถสรุปได้ว่า มีตัวแปน 3 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบในการบริหารจัดการองค์กรมากกว่าตัวแปรอื่น ซึ่งได้แก่ 1) ด้านทักษะและความเชี่ยวชาญทางด้านกลยุทธ์ 2) ด้านความเชี่ยวชาญอย่างยั่งยืน และ 3) ด้านการสร้างความผูกพันกับองค์กรและสำหรับด้านปัจจัยสู่ความสำเร็จ (การเติบโตของธุรกิจ) ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมผู้วิจัยได้ค้นพบจากแนวคิดของผู้บริหารองค์กรโทรคมนาคมได้มองว่าเป็นความสำเร็จขององค์กรอย่างแท้จริง ซึ่งได้แก่ 1) ด้านรายได้ที่เพิ่มขึ้น 2) ส่วนแบ่งทางการตลาดและ 3) ภาพลักษณ์องค์กร
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.subjectอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
dc.subjectวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
dc.subjectการบริหารองค์การ
dc.titleรูปแบบในการบริหารจัดการองค์กรของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทย (กรณีศึกษา บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน))
dc.title.alternativeA model for mngement orgniztion of industril telecommuniction in thilnd) ( cse study: tot public compny limited
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe research had objective to study the factors that are related to the A Model for Management organization of industrial Telecommunication in Thailand (A Case Study : TOT Public Company Limited). The study was a mixed method research using both quantitative and qualitative methodologies. To qualitative research, the researcher used purposive sampling by using in-depth interview with 13 people of Executive Primary Level for 3 companies in leader of industrial Telecommunication in Thailand. To quantitative research, the researcher used a Purposive Selection sampling, and the data were collected from 450 samples which were employees in TOT Public Company Limited. The instrument for data collection was Likert scale questionnaire whose Item Objective Conguence (IOC) equaled 0.91 and Cronbach’s Alpha Coefficient equaled 0.88. The findings were as follows: The researcherfor quantitative research found 1.For were sixed Factors including 1) Employee Engagement 2) Sustainability expertise 3) Financial skills and expertise Accounting 4) Strategic skills and expertise 5) Control skills and expertise 6) Innovation skills and expertise were found that all factors have a relationship with a success factors (growth) in the overview by multiple correlation coefficient, is 0.687 and can be forecasts on the key success factors (growth) 0.473 in level significantly is 0.05 and having a standard of estimate is 0.247 and the factors have highest to influencing for the key success is Employee Engagement with Organization, because of have the most valuable is Beta 0.483. The researcher for qualitative research found 2. Factors related to the organizational management model of the telecommunications industry in Thailand from the management's perspective. There are 3 factors: 1) Control skills and expertise 2) Sustainability expertise 3) Employee Engagement. In addition, The key success (Business growth) for the researcher has found from aspect from Executive Primary Level for 3 companies, including increased revenue, market share And corporate image.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:I-thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
55870007.pdf3.36 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น